Climate Risk Analytics: The Key to Sustainable Insurance

 

With natural disasters on the rise and asset replacement costs mounting, insurers face a delicate choice—get out of certain areas or get better risk visibility

The insurance industry earned a spotlight at the 28th United Nations conference on climate change (COP28) in late 2023. Prominent global figures and business leaders alike spoke to the need for sustainable, equitable access to protection from climate risk. They warned that lapses in personal or commercial insurance could disrupt livelihoods and lines of business—and in turn jeopardize entire economies.

Recent events underscore the challenge. Over the last 30 years, the annual average for natural disaster losses covered by insurance was $57 billion, according to Reuters. In 2023, the total was $95 billion, according to Munich Re. Insurer Aon pegged 2022’s total at $132 billion. Even more startling: That amount was just 42 percent of total losses—the rest were not covered by insurance. Aon calls that one of the lowest coverage rates on record.Insurers, already adept at understanding local risk and calculating the costs of protection, will need more precise risk visibility to accurately price policies in regions plagued by worsening climate hazards—from deadly heat events in Europe to property-leveling wildfires in North America.

It’s an urgent, complex challenge, but insurers might already have what they need to tackle it: location technology. Geographic information system (GIS) software, already used throughout the industry to digitally map portfolios and assess property conditions, is also a powerful tool for climate risk analytics.

 

Insurers and a Climate-Driven Future

Climate change is problematic for a business model that puts a price on risk protection. Unattainable, unaffordable policies aren’t sustainable for customers or regional economies, and yet insurers can’t bear the costs of new or growing risks without changing their products.

In Florida, insurers are offsetting flood and storm damage payouts by raising commercial real estate premiums. But as policy prices rise, consequences can cascade. Property owners raise rent for retail customers, which displaces existing businesses, dissuades new retailers from opening, or drives up prices for consumers.

Such scenarios are playing out around the world. In Cambodia, where farmers generate 35 percent of the country’s GDP, crop insurance protects against worsening floods and droughts. But local insurers are scarce, and coverage can be cost-prohibitive for individual growers, leaving a major industry—and the economy it supports—vulnerable.

Insurers need a new level of precision in risk analysis to customize policy prices and coverage offerings for hyperlocal markets, even individual policyholders, based on the climate hazards they face. This work is made possible with GIS analysis and modeling.

 

Clarifying Climate Risk

Precise climate risk analysis starts with climate data—increasingly available from public and third-party sources. GIS-based predictive analytics, which models climate data over space and time, can reveal the likelihood of specific threats in specific places and what might happen if disaster strikes.

Savvy insurers combine climate data with asset data to understand risk down to an individual property, such as comparing a structure’s age and building materials to the type of storm damage it’s likely to face, or evaluating a farm’s annual water usage against heat and drought models.

Insurers then translate these details into a better customer experience. For one, hyperlocal analysis can produce individualized risk scores, informing coverage and policy pricing that’s tailored for each business and property. It also provides transparency, giving customers information they need to take appropriate mitigation steps—reducing risk for insurers and potentially lowering premiums. Finally, anticipating specific risks and potential damages—and using GIS to track incidents in near real time—helps insurers speed response times on claims.

 

Taking Local Action against a Global Challenge

Climate change has global impacts, but those impacts don’t look the same everywhere. Innovative insurers are thinking hyperlocally as they plan and price policies. They are analyzing what kind of climate risks exist, where, and what’s at stake for regional customers if hazards do occur.

In a keynote at COP28, Howden Group CEO David Howden spoke of the need for governments and insurers to work together to model risk, calculate the costs of protection for the most vulnerable places, and make insurance more accessible and affordable. With GIS technology to analyze and contextualize hyperlocal data, insurers can inform decisions that protect clients, business longevity, and healthy economies.

 

 


Unleashing GIS Technology’s potential in every industries

 

Read more



Climate Risk Analytics: The Key to Sustainable Insurance

 

With natural disasters on the rise and asset replacement costs mounting, insurers face a delicate choice—get out of certain areas or get better risk visibility

The insurance industry earned a spotlight at the 28th United Nations conference on climate change (COP28) in late 2023. Prominent global figures and business leaders alike spoke to the need for sustainable, equitable access to protection from climate risk. They warned that lapses in personal or commercial insurance could disrupt livelihoods and lines of business—and in turn jeopardize entire economies.

Recent events underscore the challenge. Over the last 30 years, the annual average for natural disaster losses covered by insurance was $57 billion, according to Reuters. In 2023, the total was $95 billion, according to Munich Re. Insurer Aon pegged 2022’s total at $132 billion. Even more startling: That amount was just 42 percent of total losses—the rest were not covered by insurance. Aon calls that one of the lowest coverage rates on record.Insurers, already adept at understanding local risk and calculating the costs of protection, will need more precise risk visibility to accurately price policies in regions plagued by worsening climate hazards—from deadly heat events in Europe to property-leveling wildfires in North America.

It’s an urgent, complex challenge, but insurers might already have what they need to tackle it: location technology. Geographic information system (GIS) software, already used throughout the industry to digitally map portfolios and assess property conditions, is also a powerful tool for climate risk analytics.

 

Insurers and a Climate-Driven Future

Climate change is problematic for a business model that puts a price on risk protection. Unattainable, unaffordable policies aren’t sustainable for customers or regional economies, and yet insurers can’t bear the costs of new or growing risks without changing their products.

In Florida, insurers are offsetting flood and storm damage payouts by raising commercial real estate premiums. But as policy prices rise, consequences can cascade. Property owners raise rent for retail customers, which displaces existing businesses, dissuades new retailers from opening, or drives up prices for consumers.

Such scenarios are playing out around the world. In Cambodia, where farmers generate 35 percent of the country’s GDP, crop insurance protects against worsening floods and droughts. But local insurers are scarce, and coverage can be cost-prohibitive for individual growers, leaving a major industry—and the economy it supports—vulnerable.

Insurers need a new level of precision in risk analysis to customize policy prices and coverage offerings for hyperlocal markets, even individual policyholders, based on the climate hazards they face. This work is made possible with GIS analysis and modeling.

 

Clarifying Climate Risk

Precise climate risk analysis starts with climate data—increasingly available from public and third-party sources. GIS-based predictive analytics, which models climate data over space and time, can reveal the likelihood of specific threats in specific places and what might happen if disaster strikes.

Savvy insurers combine climate data with asset data to understand risk down to an individual property, such as comparing a structure’s age and building materials to the type of storm damage it’s likely to face, or evaluating a farm’s annual water usage against heat and drought models.

Insurers then translate these details into a better customer experience. For one, hyperlocal analysis can produce individualized risk scores, informing coverage and policy pricing that’s tailored for each business and property. It also provides transparency, giving customers information they need to take appropriate mitigation steps—reducing risk for insurers and potentially lowering premiums. Finally, anticipating specific risks and potential damages—and using GIS to track incidents in near real time—helps insurers speed response times on claims.

 

Taking Local Action against a Global Challenge

Climate change has global impacts, but those impacts don’t look the same everywhere. Innovative insurers are thinking hyperlocally as they plan and price policies. They are analyzing what kind of climate risks exist, where, and what’s at stake for regional customers if hazards do occur.

In a keynote at COP28, Howden Group CEO David Howden spoke of the need for governments and insurers to work together to model risk, calculate the costs of protection for the most vulnerable places, and make insurance more accessible and affordable. With GIS technology to analyze and contextualize hyperlocal data, insurers can inform decisions that protect clients, business longevity, and healthy economies.

 

 


Unleashing GIS Technology’s potential in every industries

 

Read more



ประกันภัยยุคใหม่ รับมือภัยพิบัติ วิเคราะห์ความเสี่ยงด้านสภาพภูมิอากาศด้วยเทคโนโลยี GIS

 

เมื่อภัยธรรมชาติถาโถม ทั้งต้นทุนการแทนที่ทรัพย์สินพุ่งสูงขึ้น บริษัทประกันภัยจึงจำเป็นต้องเลือกระหว่างถอนตัวออกจากพื้นที่เสี่ยงบางแห่ง หรือปรับการมองเห็นความเสี่ยงให้ชัดเจนยิ่งขึ้น อุตสาหกรรมประกันภัยกลายเป็นประเด็นสำคัญในการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ครั้งที่ 28 (COP28) เมื่อปลายปี 2023 บุคคลสำคัญระดับโลกและผู้นำธุรกิจต่างเห็นพ้องต้องกันว่า การเข้าถึงการคุ้มครองความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศอย่างยั่งยืนและเท่าเทียมกันเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับทุกคน ทั้งเตือนว่าการขาดประกันภัยสำหรับบุคคลหรือธุรกิจอาจส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพและสายงานธุรกิจ และท้ายที่สุดจะกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจโดยรวม

เหตุการณ์ที่ผ่านมายิ่งตอกย้ำปัญหาดังกล่าว จากข้อมูลของรอยเตอร์สเผยว่าในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา ความสูญเสียจากภัยธรรมชาติที่ได้รับความคุ้มครองจากประกันภัยมีค่าเฉลี่ยรายปีอยู่ที่ 57,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่ในปี 2023 ตัวเลขนี้กลับพุ่งสูงขึ้นถึง 95,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ตามข้อมูลของบริษัทประกันภัย Munich Re ในขณะที่บริษัทประกันภัย Aon ประเมินความสูญเสียที่เกิดจากภัยธรรมชาติในปี 2022 ว่ามีมูลค่าสูงยิ่งกว่าที่ 132,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่ที่น่าตกใจกว่านั้นคือ ตัวเลขนี้เป็นเพียง 42% ของความเสียหายทั้งหมดเท่านั้น นั่นหมายความว่าความเสียหายอีกมากที่ไม่ได้รับความคุ้มครองจากประกันภัย ซึ่งบริษัท Aon เห็นว่าเป็นอัตราความคุ้มครองที่ต่ำที่สุดเท่าที่เคยมีมา ดังนั้น บริษัทประกันภัยที่มีความเชี่ยวชาญในการประเมินความเสี่ยงในแต่ละพื้นที่และคำนวณเบี้ยประกันภัย จึงจำเป็นต้องปรับการมองเห็นข้อมูลความเสี่ยงให้มีความแม่นยำยิ่งขึ้น เพื่อกำหนดเบี้ยประกันให้เหมาะสมกับภูมิภาคที่เผชิญภัยพิบัติทางสภาพภูมิอากาศที่เลวร้ายลงเรื่อย ๆ ไม่ว่าจะเป็นคลื่นความร้อนรุนแรงในยุโรป ไปจนกระทั่งไฟป่าที่เผาผลาญทรัพย์สินในอเมริกาเหนือ

อย่างไรก็ดี ในการรับมือปัญหาเร่งด่วนและซับซ้อนนี้ บริษัทประกันภัยมีเทคโนโลยีด้านโลเคชันเตรียมพร้อมไว้อยู่แล้ว นั่นคือ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ซึ่งถูกนำไปใช้งานอย่างแพร่หลายภายในอุตสาหกรรมประกันภัยเพื่อสร้างแผนที่ดิจิทัล และประเมินสภาพทรัพย์สิน เทคโนโลยีนี้นับเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพอย่างยิ่งสำหรับการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านสภาพภูมิอากาศ

 

บริษัทประกันภัยและอนาคตที่ขึ้นอยู่กับอากาศ

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสร้างปัญหาให้กับบริษัทที่โมเดลธุรกิจอิงกับการกำหนดราคาจากการคุ้มครองความเสี่ยง เพราะเบี้ยประกันภัยที่สูงจนซื้อไม่ไหว หรือไม่คุ้มค่าย่อมไม่ยั่งยืนสำหรับลูกค้าและเศรษฐกิจ แต่อย่างไรก็ตามบริษัทประกันภัยก็ไม่อาจแบกรับภาระค่าใช้จ่ายจากความเสี่ยงใหม่ ๆ หรือความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นหากไม่ทำการปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ใด ๆ ตัวอย่างเช่น บริษัทประกันภัยในรัฐฟลอริดาใช้วิธีขึ้นเบี้ยประกันภัยอาคารพาณิชย์เพื่อชดเชยเงินค่าสินไหมทดแทนในกรณีเกิดน้ำท่วมและพายุ แต่ผลที่ตามมาของการขึ้นเบี้ยประกันภัยส่งผลกระทบเป็นทอด ๆ กล่าวคือ เจ้าของอาคารจำเป็นต้องขึ้นค่าเช่าของร้านค้าปลีก ทำให้ร้านค้าเดิมต้องย้ายออก แต่ร้านค้าใหม่ก็เปิดได้ยาก หรือต้องเพิ่มราคาสินค้าขายผู้บริโภคให้สูงยิ่งขึ้น

สถานการณ์ที่คล้าย ๆ กันนี้กำลังเกิดขึ้นทั่วโลก เช่น ในกัมพูชา เกษตรกรมีบทบาทสำคัญในการสร้าง GDP ของประเทศถึง 35% พวกเขามีประกันพืชผลคุ้มครองความเสียหายจากน้ำท่วมและภัยแล้งที่เลวร้ายลง แต่บริษัทประกันภัยภายในประเทศยังมีจำนวนน้อย และค่าเบี้ยประกันภัยก็สูงเกินไปสำหรับเกษตรกรรายย่อย ส่งผลให้อุตสาหกรรมหลักที่สำคัญและเศรษฐกิจที่เชื่อมโยงกันเกิดความสั่นคลอน ด้วยเหตุนี้ บริษัทประกันภัยจึงจำเป็นต้องวิเคราะห์ความเสี่ยงได้แม่นยำยิ่งขึ้น เพื่อปรับเบี้ยประกันภัยและออกแบบความคุ้มครองให้เหมาะสมกับตลาดไฮเปอร์โลคอล และผู้เอาประกันภัยแต่ละราย โดยพิจารณาจากภัยพิบัติทางธรรมชาติในแต่ละพื้นที่ และทั้งหมดนี้เป็นไปได้ด้วยการวิเคราะห์และสร้างแบบจำลองด้วยเทคโนโลยี GIS

 

รู้ความเสี่ยงให้ชัด

ในการวิเคราะห์ความเสี่ยงทางสภาพภูมิอากาศ เริ่มจากการรวบรวมข้อมูลสภาพอากาศ ซึ่งปัจจุบันหาได้ง่ายขึ้นจากแหล่งข้อมูลสาธารณะและหน่วยงานต่าง ๆ จากนั้นจึงใช้เทคโนโลยี GIS ทำการวิเคราะห์เชิงคาดการณ์โดยจำลองข้อมูลสภาพอากาศตามพื้นที่และเวลา เพื่อคาดการณ์ความน่าจะเป็นของผลกระทบในแต่ละพื้นที่ รวมทั้งผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นเมื่อภัยพิบัติมาเยือน

ในขณะเดียวกัน บริษัทประกันภัยชั้นนำจะทำการรวมข้อมูลสภาพอากาศเข้ากับข้อมูลทรัพย์สินเพื่อทำความเข้าใจความเสี่ยง เช่น การเปรียบเทียบอายุและวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างกับประเภทของความเสียหายจากพายุที่อาจเกิดขึ้น หรือการประเมินการใช้น้ำประจำปีเพื่อเปรียบเทียบกับแบบจำลองคลื่นความร้อนและภัยแล้ง เป็นต้น จากนั้นบริษัทประกันภัยจะนำรายละเอียดของข้อมูลเหล่านี้ไปปรับปรุงประสบการณ์ของลูกค้าให้ดียิ่งขึ้น ผ่านการวิเคราะห์แบบไฮเปอร์โลคอลที่สามารถสร้างคะแนนความเสี่ยงรายบุคคล ทำให้สามารถกำหนดความคุ้มครองและราคาเบี้ยประกันที่เหมาะสมสำหรับแต่ละธุรกิจและทรัพย์สิน การวิเคราะห์แบบไฮเปอร์โลคอลยังสร้างความโปร่งใส ช่วยให้ลูกค้าได้รับข้อมูลที่จำเป็นในการดำเนินการป้องกันความเสี่ยงที่เหมาะสม จึงช่วยให้ความเสี่ยงของบริษัทประกันภัยลดลง และอาจลดเบี้ยประกันภัยได้ และท้ายที่สุดการวิเคราะห์ความเสี่ยงและความเสียหายแบบเฉพาะพื้นที่ ร่วมกับการใช้เทคโนโลยี GIS ติดตามเหตุการณ์แทบเกือบเรียลไทม์ ยังช่วยให้บริษัทประกันภัยดำเนินการเคลมสินไหมได้เร็วยิ่งขึ้นอีกด้วย

 

วางแผนเฉพาะพื้นที่รับมือความท้าทายระดับโลก

การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อโลกอย่างมาก แต่ผลกระทบเหล่านี้ไม่ได้ส่งผลรุนแรงเท่ากันทุกพื้นที่ บริษัทประกันภัยจึงนำการวิเคราะห์แบบไฮเปอร์โลคอลมาใช้ในการวางแผนและกำหนดเบี้ยประกัน โดยวิเคราะห์ความเสี่ยงว่าสภาพอากาศประเภทใดบ้างที่อาจเกิดขึ้น ในบริเวณใด และทรัพย์สินของลูกค้าจะได้รับผลกระทบอย่างไรหากเกิดภัยพิบัติ

ในระหว่างการบรรยายสำคัญที่การประชุม COP28 นั้น David Howden ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัท Howden Group ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นที่ภาครัฐและบริษัทประกันภัยต้องทำงานร่วมกันเพื่อจำลองความเสี่ยง คำนวณค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองสถานที่ที่เปราะบางที่สุด และทำให้ผู้คนเข้าถึงประกันได้ในราคาที่เอื้อมถึง การนำเทคโนโลยี GIS มาใช้ในการวิเคราะห์และแปลความข้อมูลในระดับไฮเปอร์โลคอล ช่วยให้บริษัทประกันภัยสามารถตัดสินใจได้แม่นยำยิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการคุ้มครองลูกค้า ยืดอายุธุรกิจ และเสริมสร้างเศรษฐกิจให้แข็งแกร่ง

 

 


ค้นหาศักยภาพของเทคโนโลยี GIS กับการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอื่นๆ เพิ่มเติม

 

อ่านเพิ่มเติม



ประกันภัยยุคใหม่ รับมือภัยพิบัติ วิเคราะห์ความเสี่ยงด้านสภาพภูมิอากาศด้วยเทคโนโลยี GIS

 

เมื่อภัยธรรมชาติถาโถม ทั้งต้นทุนการแทนที่ทรัพย์สินพุ่งสูงขึ้น บริษัทประกันภัยจึงจำเป็นต้องเลือกระหว่างถอนตัวออกจากพื้นที่เสี่ยงบางแห่ง หรือปรับการมองเห็นความเสี่ยงให้ชัดเจนยิ่งขึ้น อุตสาหกรรมประกันภัยกลายเป็นประเด็นสำคัญในการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ครั้งที่ 28 (COP28) เมื่อปลายปี 2023 บุคคลสำคัญระดับโลกและผู้นำธุรกิจต่างเห็นพ้องต้องกันว่า การเข้าถึงการคุ้มครองความเสี่ยงจากสภาพภูมิอากาศอย่างยั่งยืนและเท่าเทียมกันเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับทุกคน ทั้งเตือนว่าการขาดประกันภัยสำหรับบุคคลหรือธุรกิจอาจส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพและสายงานธุรกิจ และท้ายที่สุดจะกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจโดยรวม

เหตุการณ์ที่ผ่านมายิ่งตอกย้ำปัญหาดังกล่าว จากข้อมูลของรอยเตอร์สเผยว่าในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา ความสูญเสียจากภัยธรรมชาติที่ได้รับความคุ้มครองจากประกันภัยมีค่าเฉลี่ยรายปีอยู่ที่ 57,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่ในปี 2023 ตัวเลขนี้กลับพุ่งสูงขึ้นถึง 95,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ตามข้อมูลของบริษัทประกันภัย Munich Re ในขณะที่บริษัทประกันภัย Aon ประเมินความสูญเสียที่เกิดจากภัยธรรมชาติในปี 2022 ว่ามีมูลค่าสูงยิ่งกว่าที่ 132,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่ที่น่าตกใจกว่านั้นคือ ตัวเลขนี้เป็นเพียง 42% ของความเสียหายทั้งหมดเท่านั้น นั่นหมายความว่าความเสียหายอีกมากที่ไม่ได้รับความคุ้มครองจากประกันภัย ซึ่งบริษัท Aon เห็นว่าเป็นอัตราความคุ้มครองที่ต่ำที่สุดเท่าที่เคยมีมา ดังนั้น บริษัทประกันภัยที่มีความเชี่ยวชาญในการประเมินความเสี่ยงในแต่ละพื้นที่และคำนวณเบี้ยประกันภัย จึงจำเป็นต้องปรับการมองเห็นข้อมูลความเสี่ยงให้มีความแม่นยำยิ่งขึ้น เพื่อกำหนดเบี้ยประกันให้เหมาะสมกับภูมิภาคที่เผชิญภัยพิบัติทางสภาพภูมิอากาศที่เลวร้ายลงเรื่อย ๆ ไม่ว่าจะเป็นคลื่นความร้อนรุนแรงในยุโรป ไปจนกระทั่งไฟป่าที่เผาผลาญทรัพย์สินในอเมริกาเหนือ

อย่างไรก็ดี ในการรับมือปัญหาเร่งด่วนและซับซ้อนนี้ บริษัทประกันภัยมีเทคโนโลยีด้านโลเคชันเตรียมพร้อมไว้อยู่แล้ว นั่นคือ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ซึ่งถูกนำไปใช้งานอย่างแพร่หลายภายในอุตสาหกรรมประกันภัยเพื่อสร้างแผนที่ดิจิทัล และประเมินสภาพทรัพย์สิน เทคโนโลยีนี้นับเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพอย่างยิ่งสำหรับการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านสภาพภูมิอากาศ

 

บริษัทประกันภัยและอนาคตที่ขึ้นอยู่กับอากาศ

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสร้างปัญหาให้กับบริษัทที่โมเดลธุรกิจอิงกับการกำหนดราคาจากการคุ้มครองความเสี่ยง เพราะเบี้ยประกันภัยที่สูงจนซื้อไม่ไหว หรือไม่คุ้มค่าย่อมไม่ยั่งยืนสำหรับลูกค้าและเศรษฐกิจ แต่อย่างไรก็ตามบริษัทประกันภัยก็ไม่อาจแบกรับภาระค่าใช้จ่ายจากความเสี่ยงใหม่ ๆ หรือความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นหากไม่ทำการปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ใด ๆ ตัวอย่างเช่น บริษัทประกันภัยในรัฐฟลอริดาใช้วิธีขึ้นเบี้ยประกันภัยอาคารพาณิชย์เพื่อชดเชยเงินค่าสินไหมทดแทนในกรณีเกิดน้ำท่วมและพายุ แต่ผลที่ตามมาของการขึ้นเบี้ยประกันภัยส่งผลกระทบเป็นทอด ๆ กล่าวคือ เจ้าของอาคารจำเป็นต้องขึ้นค่าเช่าของร้านค้าปลีก ทำให้ร้านค้าเดิมต้องย้ายออก แต่ร้านค้าใหม่ก็เปิดได้ยาก หรือต้องเพิ่มราคาสินค้าขายผู้บริโภคให้สูงยิ่งขึ้น

สถานการณ์ที่คล้าย ๆ กันนี้กำลังเกิดขึ้นทั่วโลก เช่น ในกัมพูชา เกษตรกรมีบทบาทสำคัญในการสร้าง GDP ของประเทศถึง 35% พวกเขามีประกันพืชผลคุ้มครองความเสียหายจากน้ำท่วมและภัยแล้งที่เลวร้ายลง แต่บริษัทประกันภัยภายในประเทศยังมีจำนวนน้อย และค่าเบี้ยประกันภัยก็สูงเกินไปสำหรับเกษตรกรรายย่อย ส่งผลให้อุตสาหกรรมหลักที่สำคัญและเศรษฐกิจที่เชื่อมโยงกันเกิดความสั่นคลอน ด้วยเหตุนี้ บริษัทประกันภัยจึงจำเป็นต้องวิเคราะห์ความเสี่ยงได้แม่นยำยิ่งขึ้น เพื่อปรับเบี้ยประกันภัยและออกแบบความคุ้มครองให้เหมาะสมกับตลาดไฮเปอร์โลคอล และผู้เอาประกันภัยแต่ละราย โดยพิจารณาจากภัยพิบัติทางธรรมชาติในแต่ละพื้นที่ และทั้งหมดนี้เป็นไปได้ด้วยการวิเคราะห์และสร้างแบบจำลองด้วยเทคโนโลยี GIS

 

รู้ความเสี่ยงให้ชัด

ในการวิเคราะห์ความเสี่ยงทางสภาพภูมิอากาศ เริ่มจากการรวบรวมข้อมูลสภาพอากาศ ซึ่งปัจจุบันหาได้ง่ายขึ้นจากแหล่งข้อมูลสาธารณะและหน่วยงานต่าง ๆ จากนั้นจึงใช้เทคโนโลยี GIS ทำการวิเคราะห์เชิงคาดการณ์โดยจำลองข้อมูลสภาพอากาศตามพื้นที่และเวลา เพื่อคาดการณ์ความน่าจะเป็นของผลกระทบในแต่ละพื้นที่ รวมทั้งผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นเมื่อภัยพิบัติมาเยือน

ในขณะเดียวกัน บริษัทประกันภัยชั้นนำจะทำการรวมข้อมูลสภาพอากาศเข้ากับข้อมูลทรัพย์สินเพื่อทำความเข้าใจความเสี่ยง เช่น การเปรียบเทียบอายุและวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างกับประเภทของความเสียหายจากพายุที่อาจเกิดขึ้น หรือการประเมินการใช้น้ำประจำปีเพื่อเปรียบเทียบกับแบบจำลองคลื่นความร้อนและภัยแล้ง เป็นต้น จากนั้นบริษัทประกันภัยจะนำรายละเอียดของข้อมูลเหล่านี้ไปปรับปรุงประสบการณ์ของลูกค้าให้ดียิ่งขึ้น ผ่านการวิเคราะห์แบบไฮเปอร์โลคอลที่สามารถสร้างคะแนนความเสี่ยงรายบุคคล ทำให้สามารถกำหนดความคุ้มครองและราคาเบี้ยประกันที่เหมาะสมสำหรับแต่ละธุรกิจและทรัพย์สิน การวิเคราะห์แบบไฮเปอร์โลคอลยังสร้างความโปร่งใส ช่วยให้ลูกค้าได้รับข้อมูลที่จำเป็นในการดำเนินการป้องกันความเสี่ยงที่เหมาะสม จึงช่วยให้ความเสี่ยงของบริษัทประกันภัยลดลง และอาจลดเบี้ยประกันภัยได้ และท้ายที่สุดการวิเคราะห์ความเสี่ยงและความเสียหายแบบเฉพาะพื้นที่ ร่วมกับการใช้เทคโนโลยี GIS ติดตามเหตุการณ์แทบเกือบเรียลไทม์ ยังช่วยให้บริษัทประกันภัยดำเนินการเคลมสินไหมได้เร็วยิ่งขึ้นอีกด้วย

 

วางแผนเฉพาะพื้นที่รับมือความท้าทายระดับโลก

การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อโลกอย่างมาก แต่ผลกระทบเหล่านี้ไม่ได้ส่งผลรุนแรงเท่ากันทุกพื้นที่ บริษัทประกันภัยจึงนำการวิเคราะห์แบบไฮเปอร์โลคอลมาใช้ในการวางแผนและกำหนดเบี้ยประกัน โดยวิเคราะห์ความเสี่ยงว่าสภาพอากาศประเภทใดบ้างที่อาจเกิดขึ้น ในบริเวณใด และทรัพย์สินของลูกค้าจะได้รับผลกระทบอย่างไรหากเกิดภัยพิบัติ

ในระหว่างการบรรยายสำคัญที่การประชุม COP28 นั้น David Howden ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัท Howden Group ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นที่ภาครัฐและบริษัทประกันภัยต้องทำงานร่วมกันเพื่อจำลองความเสี่ยง คำนวณค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองสถานที่ที่เปราะบางที่สุด และทำให้ผู้คนเข้าถึงประกันได้ในราคาที่เอื้อมถึง การนำเทคโนโลยี GIS มาใช้ในการวิเคราะห์และแปลความข้อมูลในระดับไฮเปอร์โลคอล ช่วยให้บริษัทประกันภัยสามารถตัดสินใจได้แม่นยำยิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการคุ้มครองลูกค้า ยืดอายุธุรกิจ และเสริมสร้างเศรษฐกิจให้แข็งแกร่ง

 

 


ค้นหาศักยภาพของเทคโนโลยี GIS กับการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอื่นๆ เพิ่มเติม

 

อ่านเพิ่มเติม