Geographic Approach

Problem-solving with
a geographic
approach

ไม่ว่าปัญหาจะใหญ่แค่ไหนใช้ “ภูมิศาสตร์” เป็นคำตอบ

Problem-solving with
a geographic
approach

ไม่ว่าปัญหาจะใหญ่แค่ไหนใช้ “ภูมิศาสตร์” เป็นคำตอบ

Geographic approach คืออะไร

ปัญหาที่เรากำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบันล้วนเกี่ยวข้องกับ “พื้นที่” ไม่ว่าจะเป็นภาวะโลกร้อน ความยั่งยืน ความเท่าเทียมทางสังคม และสุขภาพของประชาชนทั่วโลก ซึ่งการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนเหล่านี้จำเป็นต้องเข้าใจภูมิศาสตร์เสียก่อน

“Geographic approach” คือวิธีการคิดและแก้ปัญหาที่รวบรวมและเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลเข้าด้วยกันภายใต้บริบทด้านโลเคชัน ซึ่งผู้มีอำนาจตัดสินใจสามารถนำแนวทางนี้ไปใช้ในการวิเคราะห์ วางแผน รวมไปถึงการสร้างแบบจำลองสถานการณ์เพื่อค้นหาโซลูชันประกอบการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพและแม่นยำ

มองเห็นชัดเจนยิ่งขึ้น

ภูมิศาสตร์เป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลสำคัญทั้งหมดของประเด็นต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน จึงทำให้เราสามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับสถานที่และปัญหาได้มากขึ้น นำไปสู่การคิดค้นโซลูชันได้อย่างตรงจุด

ยึดหลักวิทยาศาสตร์และข้อมูล

เทคโนโลยี GIS
อาศัยหลักวิทยาศาสตร์และข้อมูลเพื่อเข้าใจปัญหาและค้นหาโซลูชัน

รอบด้านและครอบคลุม

เทคโนโลยีเชิงพื้นที่ช่วยพิจารณาความเชื่อมโยงของปัจจัยทั้งหมด
และรวบรวมข้อมูลประเภทต่าง ๆ เข้าด้วยกันโดยมีจุดเชื่อมเดียวกัน นั่นคือ “โลเคชัน”

สร้างความร่วมมือ

แผนที่เป็นรากฐานสำคัญในการสื่อสารและการปฏิบัติ
ใช้เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน แสวงหาทางเลือกใหม่ ๆ และค้นหาโซลูชัน

แปลงข้อมูลเป็นความเข้าใจด้วยแผนที่

เพราะข้อมูลจำนวนมากมีโลเคชันเป็นองค์ประกอบ Geographic approach จึงเป็นพื้นฐานที่เหมาะสมในการรวบรวม วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ข้อมูลเหล่านั้น และเมื่อเรานำข้อมูลไปสร้างเป็นภาพและวิเคราะห์บนแผนที่ก็จะทำให้เห็นความสัมพันธ์และข้อมูลเชิงลึกต่าง ๆ ที่ซ่อนอยู่

ภูมิศาสตร์บอกเล่าเรื่องราวในหลายมิติ

แผนที่สามารถเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับสถานที่ สิ่งที่กำลังเกิดขึ้น
สิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต และสิ่งที่จะเกิดในอนาคต

แผนที่คือแพลตฟอร์มวิเคราะห์ที่ทุกคนเข้าถึงได้

การใช้ภาพเล่าเรื่องทำให้เราเข้าใจคอนเซ็ปต์และเรื่องราวได้ง่ายขึ้น

ภาพถ่ายความละเอียดสูงที่เสมือนจริง

เมื่อมองภาพถ่ายบนแผนที่ ภาพนิ่งจะถูกแปลงให้กลายเป็นเรื่องราวที่น่าสนใจจึงทำให้เราเข้าใจได้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น

เทคโนโลยีล้ำสมัยเพิ่มศักยภาพด้านภูมิศาสตร์

ด้วยแผนที่ดิจิทัลยุคใหม่ทำให้เราสามารถประยุกต์วิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์ที่ดีที่สุดเพื่อแปลงข้อมูลดิบให้กลายเป็น Location intelligence ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงลึกที่ทำให้เราเกิดความเข้าใจในแบบเรียลไทม์ และนำไปสู่การตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ

Geographic approach กับการแก้ปัญหาความท้าทายของโลก

Sustainability

Infrastructure

Climate Impacts

ความยั่งยืน

Geographic approach นำเสนอข้อมูลที่แม่นยำ ช่วยให้เห็นภาพรวมที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย ทำให้สามารถปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลง

โครงสร้างพื้นฐาน

ในการวางแผน การเรียงลำดับความสำคัญ และการปฏิบัติงาน เทคโนโลยี GIS ถูกนำมาใช้เพื่อให้ผู้นำเข้าใจความสัมพันธ์ของโครงการกับสิ่งแวดล้อมโดยรอบ

ผลกระทบทางสภาพภูมิอากาศ

เทคโนโลยี GIS ช่วยประเมินผลกระทบและหาโซลูชัน เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

โลเคชันกับบทบาทสำคัญในโลกยุคใหม่

ความรู้ด้านภูมิศาสตร์ทำให้เราเข้าใจบริบทที่สำคัญจึงแก้ปัญหาได้ดียิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นปัญหาห่วงโซ่อุปทานโลก ไปจนกระทั่งการใช้พลังงานต่างๆ การนำ Geographic approach ที่ใช้เทคโนโลยี GIS มาช่วยในการแก้ปัญหา ย่อมทำให้ทุกคนมองเห็นภาพรวมปัญหาบนแผนที่เดียวกัน และร่วมกันแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ

Geographic approach คืออะไร

ปัญหาที่เรากำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบันล้วนเกี่ยวข้องกับ “พื้นที่” ไม่ว่าจะเป็นภาวะโลกร้อน ความยั่งยืน ความเท่าเทียมทางสังคม และสุขภาพของประชาชนทั่วโลก ซึ่งการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนเหล่านี้จำเป็นต้องเข้าใจภูมิศาสตร์เสียก่อน

“Geographic approach” คือวิธีการคิดและแก้ปัญหาที่รวบรวมและเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลเข้าด้วยกันภายใต้บริบทด้านโลเคชัน ซึ่งผู้มีอำนาจตัดสินใจสามารถนำแนวทางนี้ไปใช้ในการวิเคราะห์ วางแผน รวมไปถึงการสร้างแบบจำลองสถานการณ์เพื่อค้นหาโซลูชันประกอบการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพและแม่นยำ

มองเห็นชัดเจนยิ่งขึ้น

ภูมิศาสตร์เป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลสำคัญทั้งหมดของประเด็นต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน จึงทำให้เราสามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับสถานที่และปัญหาได้มากขึ้น นำไปสู่การคิดค้นโซลูชันได้อย่างตรงจุด

ยึดหลักวิทยาศาสตร์และข้อมูล

เทคโนโลยี GIS อาศัยหลักวิทยาศาสตร์และข้อมูลเพื่อเข้าใจปัญหาและค้นหาโซลูชัน

รอบด้านและครอบคลุม

เทคโนโลยีเชิงพื้นที่ช่วยพิจารณาความเชื่อมโยงของปัจจัยทั้งหมด
และรวบรวมข้อมูลประเภทต่าง ๆ เข้าด้วยกันโดยมีจุดเชื่อมเดียวกัน นั่นคือ “โลเคชัน”

สร้างความร่วมมือ

แผนที่เป็นรากฐานสำคัญในการสื่อสารและการปฏิบัติ
ใช้เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน แสวงหาทางเลือกใหม่ ๆ และค้นหาโซลูชัน

แปลงข้อมูลเป็นความเข้าใจด้วยแผนที่

เพราะข้อมูลจำนวนมากมีโลเคชันเป็นองค์ประกอบ Geographic approach จึงเป็นพื้นฐานที่เหมาะสมในการรวบรวม วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ข้อมูลเหล่านั้น และเมื่อเรานำข้อมูลไปสร้างเป็นภาพและวิเคราะห์บนแผนที่ก็จะทำให้เห็นความสัมพันธ์และข้อมูลเชิงลึกต่าง ๆ ที่ซ่อนอยู่

ภูมิศาสตร์บอกเล่าเรื่องราวในหลายมิติ

แผนที่สามารถเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับสถานที่ สิ่งที่กำลังเกิดขึ้น สิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต และสิ่งที่จะเกิดในอนาคต

แผนที่คือแพลตฟอร์มวิเคราะห์ที่ทุกคนเข้าถึงได้

การใช้ภาพเล่าเรื่องทำให้เราเข้าใจคอนเซ็ปต์และเรื่องราวได้ง่ายขึ้น

ภาพถ่ายความละเอียดสูงที่เสมือนจริง

เมื่อมองภาพถ่ายบนแผนที่ ภาพนิ่งจะถูกแปลงให้กลายเป็นเรื่องราวที่น่าสนใจจึงทำให้เราเข้าใจได้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น

เทคโนโลยีล้ำสมัยเพิ่มศักยภาพด้านภูมิศาสตร์

ด้วยแผนที่ดิจิทัลยุคใหม่ทำให้เราสามารถประยุกต์วิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์ที่ดีที่สุดเพื่อแปลงข้อมูลดิบให้กลายเป็น Location intelligence ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงลึกที่ทำให้เราเกิดความเข้าใจในแบบเรียลไทม์ และนำไปสู่การตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ

Geographic approach กับการแก้ปัญหาความท้าทายของโลก

Sustainability

Infrastructure

Climate Impacts

ความยั่งยืน

Geographic approach นำเสนอข้อมูลที่แม่นยำ ช่วยให้เห็นภาพรวมที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย ทำให้สามารถปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลง

โครงสร้างพื้นฐาน

ในการวางแผน การเรียงลำดับความสำคัญ และการปฏิบัติงาน เทคโนโลยี GIS ถูกนำมาใช้เพื่อให้ผู้นำเข้าใจความสัมพันธ์ของโครงการกับสิ่งแวดล้อมโดยรอบ

ผลกระทบทางสภาพภูมิอากาศ

เทคโนโลยี GIS ช่วยประเมินผลกระทบและหาโซลูชัน เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

โลเคชันกับบทบาทสำคัญในโลกยุคใหม่

ความรู้ด้านภูมิศาสตร์ทำให้เราเข้าใจบริบทที่สำคัญจึงแก้ปัญหาได้ดียิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นปัญหาห่วงโซ่อุปทานโลก ไปจนกระทั่งการใช้พลังงานต่างๆ การนำ Geographic approach ที่ใช้เทคโนโลยี GIS มาช่วยในการแก้ปัญหา ย่อมทำให้ทุกคนมองเห็นภาพรวมปัญหาบนแผนที่เดียวกัน และร่วมกันแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ