Mapping ‘what ifs’ with simulations powered by AI and geospatial tech

 

In today’s data-driven world, executives across industries strive to make decisions using the best available information. However, there are times when gathering the necessary data is either too costly or impossible. This is where the power of simulation comes into play, a concept that has been around since the early days of computing.

Consider the historical example of the Apollo 13 mission. When the spacecraft had problems, NASA used a computer with data from the mission to make solutions that helped the crew safely return to Earth. This achievement – accomplished with minimal computing power – highlights the early use of data in problem-solving.

Today, supercomputers and the availability of large data sets have drastically improved what algorithms can do. Simulations are now common in both science and industry. They are becoming more useful, easier to understand, and accurate because of advances in artificial intelligence (AI).

One of the most transformative applications of AI-powered simulations is in geospatial analytics. By using these simulations with geographic data, businesses see a lot of value. This makes operations more efficient and decisions more accurate.

 

Supply chain optimisation

A prime example of this integration is seen in supply chain management. A well-known company that makes networking equipment has created a computer programme that manages product and material requests across 130,000 customer locations around the world. For customers with urgent needs, the system ensures that necessary parts and skilled technicians arrive within two hours.

This is done through a digital twin – a virtual model that uses a geographic information system (GIS) to combine data on inventory, customer locations and service engineers with routing and logistics information. Advanced machine learning models quickly access this data to predict the fastest ways to deliver. Meanwhile, interactive dashboards deliver updates in real-time and show areas for improvement.

 

Building resilient infrastructure

Geospatial digital twins also play a crucial role in building climate-resilient infrastructure. Telecommunications infrastructure, for example, has a large network of stations, towers and cables that can be damaged by extreme weather conditions like floods and high winds. These conditions can cause billions of dollars in damage.

To solve this, one of the world’s biggest telecom companies uses a digital twin to predict how different weather conditions could affect their infrastructure in the short term and over the next 30 years. Supercomputers at climate research centres make these predictions based on scenarios while GIS data gives detailed information about assets and possible risks.

 

The rise of 7D planning in smart cities

Other cutting-edge AI-powered simulations push the operational envelope into new dimensions. A massive public rail project is underway in Brisbane as Australia’s third-largest city is prioritising smart city infrastructure designed to reflect its cultural identity. The project comprises two underground tubes and 1,300 km of track tunneled through the heart of the business district out to the suburbs.

The design and execution of the project happens entirely inside a virtual simulation. This digital twin captures 13,000 square kilometers of the city – not just the stations, tracks and tunnels.

This project helped create a platform for experiencing AI-powered simulations in lifelike detail. Machine learning algorithms in a video game engine render the imagery and complex 3D environments. Imagine Pokemon GO! for engineers.

 

The rise of AI meets the golden age of geography

In all these simulations, AI and geospatial technology work together to make every detail more accurate. As these tools become even easier to use, and more interesting, they will change how companies in different industries and government agencies solve problems and make decisions.

By pairing location and AI, organisations can handle the challenges of the modern world better. They can make smarter decisions based on a complete contextual analysis of data and trends. This not only makes a company’s work more efficient, but it also helps them deal with problems and opportunities in a world where everything everywhere is often more connected than one may realise.

 

Source : https://www.ft.com/partnercontent/esri/mapping-what-ifs-with-simulations-powered-by-ai-and-geospatial-tech.html

 

 


Unleashing GIS Technology’s potential in every industries

 

Read more

 



Mapping ‘what ifs’ with simulations powered by AI and geospatial tech

 

In today’s data-driven world, executives across industries strive to make decisions using the best available information. However, there are times when gathering the necessary data is either too costly or impossible. This is where the power of simulation comes into play, a concept that has been around since the early days of computing.

Consider the historical example of the Apollo 13 mission. When the spacecraft had problems, NASA used a computer with data from the mission to make solutions that helped the crew safely return to Earth. This achievement – accomplished with minimal computing power – highlights the early use of data in problem-solving.

Today, supercomputers and the availability of large data sets have drastically improved what algorithms can do. Simulations are now common in both science and industry. They are becoming more useful, easier to understand, and accurate because of advances in artificial intelligence (AI).

One of the most transformative applications of AI-powered simulations is in geospatial analytics. By using these simulations with geographic data, businesses see a lot of value. This makes operations more efficient and decisions more accurate.

 

Supply chain optimisation

A prime example of this integration is seen in supply chain management. A well-known company that makes networking equipment has created a computer programme that manages product and material requests across 130,000 customer locations around the world. For customers with urgent needs, the system ensures that necessary parts and skilled technicians arrive within two hours.

This is done through a digital twin – a virtual model that uses a geographic information system (GIS) to combine data on inventory, customer locations and service engineers with routing and logistics information. Advanced machine learning models quickly access this data to predict the fastest ways to deliver. Meanwhile, interactive dashboards deliver updates in real-time and show areas for improvement.

 

Building resilient infrastructure

Geospatial digital twins also play a crucial role in building climate-resilient infrastructure. Telecommunications infrastructure, for example, has a large network of stations, towers and cables that can be damaged by extreme weather conditions like floods and high winds. These conditions can cause billions of dollars in damage.

To solve this, one of the world’s biggest telecom companies uses a digital twin to predict how different weather conditions could affect their infrastructure in the short term and over the next 30 years. Supercomputers at climate research centres make these predictions based on scenarios while GIS data gives detailed information about assets and possible risks.

 

The rise of 7D planning in smart cities

Other cutting-edge AI-powered simulations push the operational envelope into new dimensions. A massive public rail project is underway in Brisbane as Australia’s third-largest city is prioritising smart city infrastructure designed to reflect its cultural identity. The project comprises two underground tubes and 1,300 km of track tunneled through the heart of the business district out to the suburbs.

The design and execution of the project happens entirely inside a virtual simulation. This digital twin captures 13,000 square kilometers of the city – not just the stations, tracks and tunnels.

This project helped create a platform for experiencing AI-powered simulations in lifelike detail. Machine learning algorithms in a video game engine render the imagery and complex 3D environments. Imagine Pokemon GO! for engineers.

 

The rise of AI meets the golden age of geography

In all these simulations, AI and geospatial technology work together to make every detail more accurate. As these tools become even easier to use, and more interesting, they will change how companies in different industries and government agencies solve problems and make decisions.

By pairing location and AI, organisations can handle the challenges of the modern world better. They can make smarter decisions based on a complete contextual analysis of data and trends. This not only makes a company’s work more efficient, but it also helps them deal with problems and opportunities in a world where everything everywhere is often more connected than one may realise.

 

Source : https://www.ft.com/partnercontent/esri/mapping-what-ifs-with-simulations-powered-by-ai-and-geospatial-tech.html

 

 


Unleashing GIS Technology’s potential in every industries

 

Read more

 



การจำลองสถานการณ์แบบ “What if Analysis” ด้วยพลังของ AI และ GIS

ทุกวันนี้ ผู้บริหารในหลายๆ ธุรกิจต้องการตัดสินใจจากข้อมูลที่ดีที่สุด แต่บางทีการหาข้อมูลที่ต้องการก็ทำได้ยาก หรือค่าใช้จ่ายสูงเกินไป ตรงนี้เองที่การจำลองสถานการณ์เข้ามาช่วย ซึ่งเป็นแนวคิดที่มีมาตั้งแต่สมัยเริ่มต้นของการใช้คอมพิวเตอร์

ลองนึกถึงภารกิจ Apollo 13 เมื่อตัวยานเกิดปัญหา NASA ใช้คอมพิวเตอร์ในการคำนวณข้อมูลจากภารกิจ เพื่อหาทางช่วยให้ลูกเรือกลับโลกได้อย่างปลอดภัย แม้ในตอนนั้นคอมพิวเตอร์จะไม่เก่งเหมือนทุกวันนี้ แต่การใช้ข้อมูลก็ช่วยแก้ปัญหาได้ ปัจจุบัน การมีซูเปอร์คอมพิวเตอร์และข้อมูลมหาศาลช่วยทำให้อัลกอริทึมเก่งขึ้นมาก การจำลองสถานการณ์เลยเป็นที่แพร่หลาย ทั้งในวงการวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมแถมยังง่ายขึ้นและแม่นยำมากขึ้นด้วยความก้าวหน้าของ AI

หนึ่งในวิธีการใช้ AI ที่เปลี่ยนแปลงวงการมากที่สุดคือการวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ด้วยการนำข้อมูลจากแผนที่มารวมกับการจำลองสถานการณ์ ธุรกิจต่างๆ จึงได้เห็นประโยชน์ชัดเจนขึ้น ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพและตัดสินใจได้แม่นยำกว่าเดิม การเพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทาน ตัวอย่างชัดเจนคือการจัดการห่วงโซ่อุปทาน บริษัทใหญ่ที่ทำอุปกรณ์เครือข่ายแห่งหนึ่งได้สร้างโปรแกรมที่จัดการคำขอของสินค้าและวัสดุในกว่า 130,000 จุดให้กับลูกค้าทั่วโลก ถ้าลูกค้าคนไหนมีความต้องการด่วน ระบบก็จะช่วยให้ชิ้นส่วนและช่างที่เก่งๆ ไปถึงภายในสองชั่วโมง 

เรื่องนี้เป็นไปได้เพราะ “ฝาแฝดดิจิทัล” หรือแบบจำลองเสมือน ที่ใช้ระบบ GIS มาผสมข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง สถานที่ของลูกค้า วิศวกร รวมถึงเส้นทางและข้อมูลการขนส่ง แล้วก็ใช้โมเดล AI วิเคราะห์ข้อมูลเหล่านี้เพื่อคาดการณ์เส้นทางที่เร็วที่สุด นอกจากนี้ แดชบอร์ดแบบอินเตอร์แอคทีฟยังช่วยให้เห็นการอัปเดตแบบเรียลไทม์ และดูว่ามีจุดไหนที่ต้องปรับปรุง

การสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่ทนต่อสภาพอากาศ ฝาแฝดดิจิทัลยังมีบทบาทในการสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่ทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้วย เช่น โครงสร้างโทรคมนาคม ที่มีสถานี เสา และสายเคเบิลที่อาจได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศสุดขั้ว อย่างน้ำท่วม หรือลมแรง ซึ่งสร้างความเสียหายได้เป็นพันล้านดอลลาร์ เพื่อแก้ปัญหานี้ บริษัทโทรคมนาคมยักษ์ใหญ่รายหนึ่งได้ใช้ฝาแฝดดิจิทัลเพื่อคาดการณ์ว่าสภาพอากาศต่างๆ จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างพื้นฐานของพวกเขาในระยะสั้น และในอีก 30 ปีข้างหน้าได้ยังไง ซูเปอร์คอมพิวเตอร์จากศูนย์วิจัยภูมิอากาศจะคำนวณจากสถานการณ์ต่างๆ ขณะที่ข้อมูลจาก GIS จะช่วยให้เห็นภาพชัดเจนว่าทรัพย์สินอยู่ตรงไหนและเสี่ยงกับอะไรบ้าง

การวางแผน 7D สำหรับเมืองอัจฉริยะ การจำลองด้วย AI ยังช่วยพัฒนาโปรเจ็กต์ขนาดใหญ่อย่างโครงการรถไฟในบริสเบน ซึ่งเป็นเมืองใหญ่อันดับสามของออสเตรเลีย โดยเป็นโครงการอุโมงค์รถไฟใต้ดิน 1,300 กิโลเมตร ที่เชื่อมต่อใจกลางเมืองกับชานเมือง การออกแบบและดำเนินการทั้งหมดทำผ่านแบบจำลองเสมือน (Digital Twin) ที่ครอบคลุมพื้นที่ 13,000 ตารางกิโลเมตรของเมือง โครงการนี้ยังใช้เอนจินเกมเพื่อสร้างภาพเสมือนที่ละเอียดสมจริง จนสามารถนำไปใช้กับงานด้านวิศวกรรมได้เลย ลองนึกถึง Pokémon GO! ในเวอร์ชันสำหรับวิศวกร

ยุคทองของภูมิศาสตร์มาพร้อมกับการเติบโตของ AI ทุกการจำลองที่กล่าวมานี้ AI และเทคโนโลยีแผนที่ทำงานร่วมกันเพื่อให้ทุกอย่างแม่นยำขึ้น และเมื่อเครื่องมือเหล่านี้ใช้งานง่ายขึ้น บริษัทในอุตสาหกรรมต่างๆ ก็จะสามารถใช้แก้ปัญหาและตัดสินใจได้ดีขึ้น ด้วยการจับคู่ข้อมูลตำแหน่งกับ AI องค์กรต่างๆ จะตัดสินใจได้ดีขึ้นและทำงานมีประสิทธิภาพขึ้น พร้อมรับมือกับปัญหาและโอกาสในโลกที่เชื่อมโยงกันมากขึ้น

 

ที่มา : https://www.ft.com/partnercontent/esri/mapping-what-ifs-with-simulations-powered-by-ai-and-geospatial-tech.html

 

 


ค้นหาศักยภาพของเทคโนโลยี GIS กับการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอื่นๆ เพิ่มเติม

 

อ่านเพิ่มเติม



การจำลองสถานการณ์แบบ “What if Analysis” ด้วยพลังของ AI และ GIS

 

ทุกวันนี้ ผู้บริหารในหลายๆ ธุรกิจต้องการตัดสินใจจากข้อมูลที่ดีที่สุด แต่บางทีการหาข้อมูลที่ต้องการก็ทำได้ยาก หรือค่าใช้จ่ายสูงเกินไป ตรงนี้เองที่การจำลองสถานการณ์เข้ามาช่วย ซึ่งเป็นแนวคิดที่มีมาตั้งแต่สมัยเริ่มต้นของการใช้คอมพิวเตอร์

ลองนึกถึงภารกิจ Apollo 13 เมื่อตัวยานเกิดปัญหา NASA ใช้คอมพิวเตอร์ในการคำนวณข้อมูลจากภารกิจ เพื่อหาทางช่วยให้ลูกเรือกลับโลกได้อย่างปลอดภัย แม้ในตอนนั้นคอมพิวเตอร์จะไม่เก่งเหมือนทุกวันนี้ แต่การใช้ข้อมูลก็ช่วยแก้ปัญหาได้ ปัจจุบัน การมีซูเปอร์คอมพิวเตอร์และข้อมูลมหาศาลช่วยทำให้อัลกอริทึมเก่งขึ้นมาก การจำลองสถานการณ์เลยเป็นที่แพร่หลาย ทั้งในวงการวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมแถมยังง่ายขึ้นและแม่นยำมากขึ้นด้วยความก้าวหน้าของ AI

หนึ่งในวิธีการใช้ AI ที่เปลี่ยนแปลงวงการมากที่สุดคือการวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ด้วยการนำข้อมูลจากแผนที่มารวมกับการจำลองสถานการณ์ ธุรกิจต่างๆ จึงได้เห็นประโยชน์ชัดเจนขึ้น ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพและตัดสินใจได้แม่นยำกว่าเดิม การเพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทาน ตัวอย่างชัดเจนคือการจัดการห่วงโซ่อุปทาน บริษัทใหญ่ที่ทำอุปกรณ์เครือข่ายแห่งหนึ่งได้สร้างโปรแกรมที่จัดการคำขอของสินค้าและวัสดุในกว่า 130,000 จุดให้กับลูกค้าทั่วโลก ถ้าลูกค้าคนไหนมีความต้องการด่วน ระบบก็จะช่วยให้ชิ้นส่วนและช่างที่เก่งๆ ไปถึงภายในสองชั่วโมง 

เรื่องนี้เป็นไปได้เพราะ “ฝาแฝดดิจิทัล” หรือแบบจำลองเสมือน ที่ใช้ระบบ GIS มาผสมข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง สถานที่ของลูกค้า วิศวกร รวมถึงเส้นทางและข้อมูลการขนส่ง แล้วก็ใช้โมเดล AI วิเคราะห์ข้อมูลเหล่านี้เพื่อคาดการณ์เส้นทางที่เร็วที่สุด นอกจากนี้ แดชบอร์ดแบบอินเตอร์แอคทีฟยังช่วยให้เห็นการอัปเดตแบบเรียลไทม์ และดูว่ามีจุดไหนที่ต้องปรับปรุง

การสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่ทนต่อสภาพอากาศ ฝาแฝดดิจิทัลยังมีบทบาทในการสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่ทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้วย เช่น โครงสร้างโทรคมนาคม ที่มีสถานี เสา และสายเคเบิลที่อาจได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศสุดขั้ว อย่างน้ำท่วม หรือลมแรง ซึ่งสร้างความเสียหายได้เป็นพันล้านดอลลาร์ เพื่อแก้ปัญหานี้ บริษัทโทรคมนาคมยักษ์ใหญ่รายหนึ่งได้ใช้ฝาแฝดดิจิทัลเพื่อคาดการณ์ว่าสภาพอากาศต่างๆ จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างพื้นฐานของพวกเขาในระยะสั้น และในอีก 30 ปีข้างหน้าได้ยังไง ซูเปอร์คอมพิวเตอร์จากศูนย์วิจัยภูมิอากาศจะคำนวณจากสถานการณ์ต่างๆ ขณะที่ข้อมูลจาก GIS จะช่วยให้เห็นภาพชัดเจนว่าทรัพย์สินอยู่ตรงไหนและเสี่ยงกับอะไรบ้าง

การวางแผน 7D สำหรับเมืองอัจฉริยะ การจำลองด้วย AI ยังช่วยพัฒนาโปรเจ็กต์ขนาดใหญ่อย่างโครงการรถไฟในบริสเบน ซึ่งเป็นเมืองใหญ่อันดับสามของออสเตรเลีย โดยเป็นโครงการอุโมงค์รถไฟใต้ดิน 1,300 กิโลเมตร ที่เชื่อมต่อใจกลางเมืองกับชานเมือง การออกแบบและดำเนินการทั้งหมดทำผ่านแบบจำลองเสมือน (Digital Twin) ที่ครอบคลุมพื้นที่ 13,000 ตารางกิโลเมตรของเมือง โครงการนี้ยังใช้เอนจินเกมเพื่อสร้างภาพเสมือนที่ละเอียดสมจริง จนสามารถนำไปใช้กับงานด้านวิศวกรรมได้เลย ลองนึกถึง Pokémon GO! ในเวอร์ชันสำหรับวิศวกร

ยุคทองของภูมิศาสตร์มาพร้อมกับการเติบโตของ AI ทุกการจำลองที่กล่าวมานี้ AI และเทคโนโลยีแผนที่ทำงานร่วมกันเพื่อให้ทุกอย่างแม่นยำขึ้น และเมื่อเครื่องมือเหล่านี้ใช้งานง่ายขึ้น บริษัทในอุตสาหกรรมต่างๆ ก็จะสามารถใช้แก้ปัญหาและตัดสินใจได้ดีขึ้น ด้วยการจับคู่ข้อมูลตำแหน่งกับ AI องค์กรต่างๆ จะตัดสินใจได้ดีขึ้นและทำงานมีประสิทธิภาพขึ้น พร้อมรับมือกับปัญหาและโอกาสในโลกที่เชื่อมโยงกันมากขึ้น

 

ที่มา : https://www.ft.com/partnercontent/esri/mapping-what-ifs-with-simulations-powered-by-ai-and-geospatial-tech.html

 

 


ค้นหาศักยภาพของเทคโนโลยี GIS กับการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอื่นๆ เพิ่มเติม

 

อ่านเพิ่มเติม