Finding a Home for Solar: Kentucky Maps Prime Renewable Energy Sites

 

The state of Kentucky is undergoing a transformation from a coal powerhouse to a compelling locale for renewable energy generation. Once the leading producer of coal in the US, and still one of the top three coal-producing states, Kentucky is nonetheless looking toward a future powered by alternative energy sources—hydropower, biomass, and of course, solar.

In the face of declining coal use and production coupled with increasing interest from corporate buyers of renewable resources, the state of Kentucky is experiencing a significant growth in interest from developers looking for solar power project locations. With its robust infrastructure and available space, including previously used mine lands, Kentucky bills itself an ideal choice for solar production sites. But where do they put them?

The Kentucky Energy and Environment Cabinet set out to answer this question. “For several years, as solar has come down in cost, it’s become more of an option here in Kentucky,” said Kenya Stump, executive director, Kentucky Office of Energy Policy. “We had a lot of questions from people: ‘It seems like our mine lands would be great for solar,’ or ‘I don’t know why we don’t put solar on our mine lands.’ And to me, that was always a geospatial question. Where should new sites go?”

Until recently, there was no mechanism in place for the Office of Energy Policy to receive and respond to site inquiries, so developers often selected sites with little to no input from the state. “Solar is so new in Kentucky that we had solar developers making siting decisions, but we didn’t understand why they were choosing their locations,” Stump said. “We would just get notified that a new solar project was going here or going there.”

 

Staff from the Kentucky Cabinet for Economic Development would pass along inquiries to colleagues at the Office of Energy Policy, who, initially, had no way to gauge suitability. Traditional industrial development sites weren’t meant for solar, and siting characteristics such as topography, slope, or the presence of threatened species had to be considered. Teams at the Office of Energy Policy used their geographic information system (GIS) technology to create the Solar Site Potential in Kentucky platform, guiding solar developers to prime locations.

 

A Smarter Solution for Site Selection

At the start of the project, the team from Kentucky found few best practices from other states. With input from the state’s GIS experts and Esri, Stump and others from the Kentucky Energy and Environment Cabinet applied GIS to conduct site suitability analysis on land parcels available for development. The analysis evaluates sites based on criteria impacting the technical feasibility of construction, then gives each parcel a score.

Stump’s team collaborated with mining consultants and solar developers to collect relevant data layers and determine the criteria needed to compare sites. Support provided by the KY Geography Network (KYGeoNet), the geospatial data clearinghouse for the Commonwealth of Kentucky, facilitated this collaboration. Melissa Miracle, an IT consultant and project manager at the Kentucky Energy and Environment Cabinet who is deeply involved in KYGeoNet, worked closely with the state’s nature preserves to include data on local endangered species. “That was a tough one because we didn’t have direct access to the raw data,” Miracle said. “So we worked with the folks within the agency who handle the nature preserves to create the layers that we needed. It was important for them to be involved so the developers would know where they can and cannot build.” Miracle also worked with the Natural Resources division to create a better understanding of the state’s mines.

 

“That was a whole learning curve,” Stump said. “The attributes, how they code things, understanding mining reclamation terminology—all that was huge.”

Through this collaboration, the team addressed the multifaceted concerns of solar plant providers—including favorable slope, land classification (barren land, mixed forest, and cultivated crops), access to electric transmission lines, population density, proximity to the habitats of threatened species, and status as federal or protected lands.

 

Communicating with Communities

Another key benefit of Solar Site Potential in Kentucky platform is the transparency it offers to communities that may be affected by possible development. “Our land-use planning is done at the local level. So this tool also helps our local communities understand the reason why developers are looking at their lands—whether it’s because they have the right slope or they have access to transmission or other characteristics,” Stump said. “It’s still up to that community to decide what they want to do with the land.” The platform also helps community stakeholders find out exactly which local land is being considered for solar projects. This information influences personal and local planning decisions, such as safeguarding land for specific uses or protecting views.

 

 

“This tool couldn’t have come at a better time because it shows stakeholders that we are actively trying to find places that were not prime farmland,” Stump said. “We have a layer in the tool that you can turn on to show the land-use classifications, which can also inform the developer in the conversations with the community.”

Plans are also underway to add 3D enhancements to the platform to make it easier for users to visualize the areas under consideration for development. “We’re working on creating 3D map scenes in some of the prime areas for solar across the state,” Miracle said. “This would allow developers to ‘fly in’ and see the slope, the terrain, a whole new view.”

 

New Applications, New Opportunities

Kentucky’s success in analyzing solar siting potential has created opportunities for collaboration with other states. “Given the work our GIS group is doing, we’re known nationwide as the office you go to if you want to learn how to get started with GIS,” said Stump. “We’re answering energy questions from other states that, at the heart of it, are geospatial questions. Other energy offices are beginning to see the light; that they need to know where things are going to occur, where they should occur, and where they could occur, before talking to stakeholders and discussing policies.”

Kentucky’s GIS experts envision using the technology to adapt the siting platform tool to incorporate environmental justice data.

 

 


Unleashing GIS Technology’s potential in every industries

 

Read more



Finding a Home for Solar: Kentucky Maps Prime Renewable Energy Sites

 

The state of Kentucky is undergoing a transformation from a coal powerhouse to a compelling locale for renewable energy generation. Once the leading producer of coal in the US, and still one of the top three coal-producing states, Kentucky is nonetheless looking toward a future powered by alternative energy sources—hydropower, biomass, and of course, solar.

In the face of declining coal use and production coupled with increasing interest from corporate buyers of renewable resources, the state of Kentucky is experiencing a significant growth in interest from developers looking for solar power project locations. With its robust infrastructure and available space, including previously used mine lands, Kentucky bills itself an ideal choice for solar production sites. But where do they put them?

The Kentucky Energy and Environment Cabinet set out to answer this question. “For several years, as solar has come down in cost, it’s become more of an option here in Kentucky,” said Kenya Stump, executive director, Kentucky Office of Energy Policy. “We had a lot of questions from people: ‘It seems like our mine lands would be great for solar,’ or ‘I don’t know why we don’t put solar on our mine lands.’ And to me, that was always a geospatial question. Where should new sites go?”

Until recently, there was no mechanism in place for the Office of Energy Policy to receive and respond to site inquiries, so developers often selected sites with little to no input from the state. “Solar is so new in Kentucky that we had solar developers making siting decisions, but we didn’t understand why they were choosing their locations,” Stump said. “We would just get notified that a new solar project was going here or going there.”

 

Staff from the Kentucky Cabinet for Economic Development would pass along inquiries to colleagues at the Office of Energy Policy, who, initially, had no way to gauge suitability. Traditional industrial development sites weren’t meant for solar, and siting characteristics such as topography, slope, or the presence of threatened species had to be considered. Teams at the Office of Energy Policy used their geographic information system (GIS) technology to create the Solar Site Potential in Kentucky platform, guiding solar developers to prime locations.

 

A Smarter Solution for Site Selection

At the start of the project, the team from Kentucky found few best practices from other states. With input from the state’s GIS experts and Esri, Stump and others from the Kentucky Energy and Environment Cabinet applied GIS to conduct site suitability analysis on land parcels available for development. The analysis evaluates sites based on criteria impacting the technical feasibility of construction, then gives each parcel a score.

Stump’s team collaborated with mining consultants and solar developers to collect relevant data layers and determine the criteria needed to compare sites. Support provided by the KY Geography Network (KYGeoNet), the geospatial data clearinghouse for the Commonwealth of Kentucky, facilitated this collaboration. Melissa Miracle, an IT consultant and project manager at the Kentucky Energy and Environment Cabinet who is deeply involved in KYGeoNet, worked closely with the state’s nature preserves to include data on local endangered species. “That was a tough one because we didn’t have direct access to the raw data,” Miracle said. “So we worked with the folks within the agency who handle the nature preserves to create the layers that we needed. It was important for them to be involved so the developers would know where they can and cannot build.” Miracle also worked with the Natural Resources division to create a better understanding of the state’s mines.

 

“That was a whole learning curve,” Stump said. “The attributes, how they code things, understanding mining reclamation terminology—all that was huge.”

Through this collaboration, the team addressed the multifaceted concerns of solar plant providers—including favorable slope, land classification (barren land, mixed forest, and cultivated crops), access to electric transmission lines, population density, proximity to the habitats of threatened species, and status as federal or protected lands.

 

Communicating with Communities

Another key benefit of Solar Site Potential in Kentucky platform is the transparency it offers to communities that may be affected by possible development. “Our land-use planning is done at the local level. So this tool also helps our local communities understand the reason why developers are looking at their lands—whether it’s because they have the right slope or they have access to transmission or other characteristics,” Stump said. “It’s still up to that community to decide what they want to do with the land.” The platform also helps community stakeholders find out exactly which local land is being considered for solar projects. This information influences personal and local planning decisions, such as safeguarding land for specific uses or protecting views.

 

 

“This tool couldn’t have come at a better time because it shows stakeholders that we are actively trying to find places that were not prime farmland,” Stump said. “We have a layer in the tool that you can turn on to show the land-use classifications, which can also inform the developer in the conversations with the community.”

Plans are also underway to add 3D enhancements to the platform to make it easier for users to visualize the areas under consideration for development. “We’re working on creating 3D map scenes in some of the prime areas for solar across the state,” Miracle said. “This would allow developers to ‘fly in’ and see the slope, the terrain, a whole new view.”

 

New Applications, New Opportunities

Kentucky’s success in analyzing solar siting potential has created opportunities for collaboration with other states. “Given the work our GIS group is doing, we’re known nationwide as the office you go to if you want to learn how to get started with GIS,” said Stump. “We’re answering energy questions from other states that, at the heart of it, are geospatial questions. Other energy offices are beginning to see the light; that they need to know where things are going to occur, where they should occur, and where they could occur, before talking to stakeholders and discussing policies.”

Kentucky’s GIS experts envision using the technology to adapt the siting platform tool to incorporate environmental justice data.

 

 

 


Unleashing GIS Technology’s potential in every industries

 

Read more

 

Tags:


ชี้เป้าทำเลศักยภาพสร้างพลังงานแสงอาทิตย์ ก้าวสู่อนาคตพลังงานสะอาดด้วย GIS

 

รัฐเคนทักกีสหรัฐอเมริกากำลังเปลี่ยนโฉมจากผู้ผลิตถ่านหินรายใหญ่ไปสู่แหล่งผลิตพลังงานหมุนเวียน แม้ครั้งหนึ่งจะเคยเป็นผู้ผลิตถ่านหินรายใหญ่ที่สุดของสหรัฐ และยังคงเป็นหนึ่งใน 3 รัฐที่ผลิตถ่านหินมากที่สุด แต่รัฐเคนทักกีเลือกที่จะเดินหน้าสู่อนาคตที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานทางเลือก ไม่ว่าจะเป็นพลังงานน้ำ พลังงานชีวมวล และพลังงานแสงอาทิตย์ เนื่องจากปริมาณการใช้และผลิตถ่านหินที่ลดลง ผนวกกับความต้องการซื้อพลังงานหมุนเวียนที่เพิ่มขึ้นจากธุรกิจต่าง ๆ ทำให้รัฐเคนทักกีได้รับความสนใจอย่างล้นหลามจากผู้พัฒนาโครงการที่กำลังมองหาพื้นที่ผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ เพราะเป็นรัฐที่มีโครงสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่ง ทั้งยังมีพื้นที่ว่างและมีเหมืองแร่ที่เคยใช้งานมาก่อน เคนทักกีจึงชูตัวเองเป็นรัฐที่มีศักยภาพในการเป็นแหล่งผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ แต่คำถามต่อมาก็คือ ‘แล้วที่ตรงไหนควรตั้งโครงการ’

หน่วยงานด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมของรัฐเคนทักกี จึงเริ่มศึกษาหาคำตอบ โดย Kenya Stump ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายพลังงานของรัฐเคนทักกี ให้ความเห็นว่า “ต้นทุนที่ถูกลงทำให้พลังงานแสงอาทิตย์ได้รับความนิยมภายในรัฐมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงมีคำถามจากผู้คนมากมาย เช่น ทำไมไม่ไปสร้างพลังงานแสงอาทิตย์ที่เหมืองแร่ล่ะ แต่คำถามเหล่านี้ล้วนเกี่ยวข้องกับภูมิสารสนเทศ นั่นคือ ที่ไหนบ้างที่เหมาะสมสร้างพลังงานแสงอาทิตย์”

ก่อนหน้านี้สำนักงานนโยบายพลังงานยังไม่มีกลไกในการรับฟังและตอบคำถามเกี่ยวกับทำเลในการสร้างพลังงานแสงอาทิตย์ บริษัทพัฒนาโครงการจึงเลือกสถานที่เองโดยแทบไม่ได้รับข้อมูลใด ๆ จากรัฐ “พลังงานแสงอาทิตย์เป็นเรื่องใหม่มากสำหรับรัฐเคนทักกี ผู้พัฒนาโครงการมักเลือกสถานที่เอง แต่เราก็ไม่เข้าใจว่าทำไมเขาถึงเลือกพื้นที่นั้น เราได้รับการแจ้งเข้ามาเท่านั้นว่าโครงการใหม่กำลังจะเกิดขึ้นที่นั่นและที่นี่” Stump กล่าว

หน่วยงานด้านพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐเคนทักกีได้ถามไปยังสำนักงานนโยบายพลังงานถึงทำเลที่ควรสร้างพลังงานแสงอาทิตย์ แต่ก่อนหน้านี้ทางสำนักงานก็ไม่มีวิธีการประเมินทำเลที่เหมาะสม และเห็นว่าพื้นที่ที่เป็นโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมแบบเดิมก็ยังไม่ใช่คำตอบ ทั้งลักษณะของพื้นที่ก็ควรต้องนำมาพิจารณาด้วย เช่น ลักษณะภูมิประเทศ ความลาดชัน หรือที่อยู่ของสัตว์ใกล้สูญพันธ์ ด้วยเหตุนี้ทางทีมงานของสำนักงานนโยบายพลังงานจึงนำเทคโนโลยี GIS มาสร้างแพลตฟอร์มที่มีชื่อว่า ‘Solar Site Potential in Kentucky’ เพื่อชี้แนะผู้พัฒนาโครงการถึงสถานที่ที่เหมาะสม

 

โซลูชันอัจฉริยะสำหรับการเลือกทำเลที่ตั้ง

ในช่วงเริ่มต้นทีมงานพยายามหาแนวทางปฏิบัติจากรัฐอื่น ๆ มาปรับใช้ซึ่งหาไม่ได้มากนัก แต่ด้วยความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญด้าน GIS ของรัฐผนวกกับ Esri จึงสามารถนำเทคโนโลยี GIS มาใช้เพื่อทำการวิเคราะห์หาทำเลที่เหมาะสมบนแปลงที่ดินว่างเปล่าเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งพลังงานแสงอาทิตย์ การวิเคราะห์นี้ประเมินพื้นที่โดยอิงตามเกณฑ์ความเป็นไปได้ทางเทคนิคในการก่อสร้าง แล้วจึงให้คะแนนแต่ละแปลงที่ดินต่อไป

ทีมงานของ Stump ได้ร่วมมือกับที่ปรึกษาเหมืองแร่และผู้พัฒนาโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อรวบรวมแต่ละชั้นข้อมูลและกำหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบทำเลต่าง ๆ โดยความร่วมมือนี้ได้รับการสนับสนุนจาก KY Geography Network (KYGeoNet) ซึ่งเป็นคลังข้อมูลเชิงพื้นที่ของรัฐเคนทักกี ซึ่ง Melissa Miracle ที่ปรึกษาไอทีและผู้จัดการโครงการของหน่วยงานด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมของรัฐเคนทักกี และเป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่อง KyGeoNet ได้ทำการศึกษารวบรวมข้อมูลสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ในท้องที่ร่วมกับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าของรัฐ ให้ความเห็นในการรวบรวมข้อมูลว่า “มันยากมากเลย เพราะเราไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลดิบได้เอง เราจึงร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ที่ดูแลเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเพื่อสร้างชั้นข้อมูลต่าง ๆ ที่ต้องการ การให้เจ้าหน้าที่เข้ามามีส่วนร่วมในโครงการนับว่าจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะผู้พัฒนาโครงการจะได้รู้ว่าที่ไหนสร้างได้และที่ไหนไม่ควรสร้าง” นอกจากงานดังกล่าว Miracle ยังได้ร่วมมือกับฝ่ายทรัพยากรธรรมชาติเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของเหมืองแร่ภายในรัฐเคนทักกีอีกด้วย Stump กล่าวเสริม “พวกเราเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เยอะมาก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องลักษณะของพื้นที่ การเข้ารหัสข้อมูล ไปจนกระทั่งศัพท์เฉพาะเรื่องการฟื้นฟูสภาพเหมืองแร่”

การร่วมมือกันครั้งนี้ช่วยให้ทีมงานสามารถคลี่คลายข้อสงสัยต่าง ๆ ของผู้สร้างโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ไม่ว่าจะเรื่องความลาดชันที่เหมาะสม ประเภทของที่ดิน (ที่ดินรกร้าง ป่าเบญจพรรณ หรือพื้นที่เพาะปลูก) การเข้าถึงสายส่งไฟฟ้า ความหนาแน่นของประชากร ระยะห่างจากที่อยู่ของสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ ไปจนกระทั่งสถานะของที่ดิน (ที่ดินของรัฐหรือพื้นที่คุ้มครอง)

 

การสื่อสารกับชุมชน

อีกหนึ่งประโยชน์ที่ได้จากแพลตฟอร์ม Solar Site Potential in Kentucky คือ ‘ความโปร่งใส’ ที่มอบให้กับชุมชนซึ่งอาจได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ “ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการวางแผนการใช้ที่ดิน แพลตฟอร์มนี้จึงช่วยให้พวกเขาเข้าใจเหตุผลที่ผู้พัฒนาโครงการสนใจที่ดินของพวกเขา เช่น อาจจะเพราะมีความลาดชันที่เหมาะสม สามารถเข้าถึงสายส่งไฟฟ้า หรือลักษณะอื่น ๆ แต่ท้ายที่สุดการตัดสินใจว่าจะทำอะไรกับที่ดินนั้นยังเป็นของคนในชุมชนอยู่ดี” Stump กล่าว

 

 

นอกจากนั้น แพลตฟอร์มยังช่วยให้คนในชุมชนรู้ว่าที่ดินจุดไหนที่กำลังพิจารณาสร้างโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ ข้อมูลนี้มีผลกับคนในชุมชนและการตัดสินใจวางแผนของชุมชนอย่างมาก เพราะเขาอาจต้องการปกป้องที่ดินเพื่อการใช้งานประเภทอื่น หรือรักษาทัศนียภาพไว้เช่นเดิม ซึ่งภายในแพลตฟอร์มยังมีชั้นข้อมูลที่แสดงให้ชุมชนเห็นการแบ่งประเภทการใช้ที่ดิน ซึ่งช่วยให้ผู้พัฒนาสามารถชี้แจงกับชุมชนเกี่ยวกับแผนโครงการได้ง่ายยิ่งขึ้น แพลตฟอร์มนี้ยังวางแผนเพิ่มภาพ 3 มิติเพื่อแสดงให้เห็นพื้นที่ที่มีศักยภาพสำหรับพลังงานแสงอาทิตย์ทั่วทั้งรัฐ ซึ่งจะช่วยให้ผู้พัฒนาโครงการเห็นมุมมองใหม่ทั้งหมด โดยสามารถ ‘บิน’ ดูความลาดชัน เนินเขา หรือที่ราบ

 

ความสำเร็จสู่โอกาสใหม่

ความสำเร็จในการวิเคราะห์ทำเลศักยภาพสำหรับพลังงานแสงอาทิตย์ของรัฐเคนทักกีได้สร้างโอกาสในการทำงานร่วมกับรัฐอื่น ๆ โดย Stump ให้ความเห็นว่า “เพราะความสำเร็จจากผลงานที่กลุ่ม GIS ของเราทำ ทำให้เราเป็นที่รู้จักทั่วประเทศในฐานะหน่วยงานที่ควรติดต่อหากต้องการเริ่มใช้งานระบบ GIS ทั้งเรายังได้ตอบคำถามที่มาจากหลากหลายรัฐที่เกี่ยวกับด้านพลังงาน ซึ่งล้วนเป็นคำถามเชิงภูมิสารสนเทศทั้งสิ้น และนั่นทำให้หน่วยงานพลังงานที่อื่น ๆ ต่างเริ่มเห็นความสำคัญของภูมิสารสนเทศ ว่าพวกเขาควรต้องรู้ว่าโครงการกำลังจะเกิดขึ้นที่ไหน ที่ไหนควรสร้าง ที่ไหนสามารถสร้าง ก่อนที่จะทำการพูดคุยกับคนในชุมชนและหารือเรื่องนโยบายต่อไป” Stump กล่าวทิ้งท้าย

ผู้เชี่ยวชาญด้าน GIS ของรัฐเคนทักกียังมองเห็นโอกาสที่จะใช้เทคโนโลยีนี้ปรับปรุงเครื่องมือการเลือกทำเลที่ตั้งภายในแพลตฟอร์ม โดยผนวกข้อมูลด้านความยุติธรรมด้านสิ่งแวดล้อมเข้าไว้ด้วย

 

 


ค้นหาศักยภาพของเทคโนโลยี GIS กับการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอื่นๆ เพิ่มเติม

 

อ่านเพิ่มเติม



ชี้เป้าทำเลศักยภาพสร้างพลังงานแสงอาทิตย์ ก้าวสู่อนาคตพลังงานสะอาดด้วย GIS

 

รัฐเคนทักกีสหรัฐอเมริกากำลังเปลี่ยนโฉมจากผู้ผลิตถ่านหินรายใหญ่ไปสู่แหล่งผลิตพลังงานหมุนเวียน แม้ครั้งหนึ่งจะเคยเป็นผู้ผลิตถ่านหินรายใหญ่ที่สุดของสหรัฐ และยังคงเป็นหนึ่งใน 3 รัฐที่ผลิตถ่านหินมากที่สุด แต่รัฐเคนทักกีเลือกที่จะเดินหน้าสู่อนาคตที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานทางเลือก ไม่ว่าจะเป็นพลังงานน้ำ พลังงานชีวมวล และพลังงานแสงอาทิตย์ เนื่องจากปริมาณการใช้และผลิตถ่านหินที่ลดลง ผนวกกับความต้องการซื้อพลังงานหมุนเวียนที่เพิ่มขึ้นจากธุรกิจต่าง ๆ ทำให้รัฐเคนทักกีได้รับความสนใจอย่างล้นหลามจากผู้พัฒนาโครงการที่กำลังมองหาพื้นที่ผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ เพราะเป็นรัฐที่มีโครงสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่ง ทั้งยังมีพื้นที่ว่างและมีเหมืองแร่ที่เคยใช้งานมาก่อน เคนทักกีจึงชูตัวเองเป็นรัฐที่มีศักยภาพในการเป็นแหล่งผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ แต่คำถามต่อมาก็คือ ‘แล้วที่ตรงไหนควรตั้งโครงการ’

หน่วยงานด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมของรัฐเคนทักกี จึงเริ่มศึกษาหาคำตอบ โดย Kenya Stump ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายพลังงานของรัฐเคนทักกี ให้ความเห็นว่า “ต้นทุนที่ถูกลงทำให้พลังงานแสงอาทิตย์ได้รับความนิยมภายในรัฐมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงมีคำถามจากผู้คนมากมาย เช่น ทำไมไม่ไปสร้างพลังงานแสงอาทิตย์ที่เหมืองแร่ล่ะ แต่คำถามเหล่านี้ล้วนเกี่ยวข้องกับภูมิสารสนเทศ นั่นคือ ที่ไหนบ้างที่เหมาะสมสร้างพลังงานแสงอาทิตย์”

ก่อนหน้านี้สำนักงานนโยบายพลังงานยังไม่มีกลไกในการรับฟังและตอบคำถามเกี่ยวกับทำเลในการสร้างพลังงานแสงอาทิตย์ บริษัทพัฒนาโครงการจึงเลือกสถานที่เองโดยแทบไม่ได้รับข้อมูลใด ๆ จากรัฐ “พลังงานแสงอาทิตย์เป็นเรื่องใหม่มากสำหรับรัฐเคนทักกี ผู้พัฒนาโครงการมักเลือกสถานที่เอง แต่เราก็ไม่เข้าใจว่าทำไมเขาถึงเลือกพื้นที่นั้น เราได้รับการแจ้งเข้ามาเท่านั้นว่าโครงการใหม่กำลังจะเกิดขึ้นที่นั่นและที่นี่” Stump กล่าว

หน่วยงานด้านพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐเคนทักกีได้ถามไปยังสำนักงานนโยบายพลังงานถึงทำเลที่ควรสร้างพลังงานแสงอาทิตย์ แต่ก่อนหน้านี้ทางสำนักงานก็ไม่มีวิธีการประเมินทำเลที่เหมาะสม และเห็นว่าพื้นที่ที่เป็นโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมแบบเดิมก็ยังไม่ใช่คำตอบ ทั้งลักษณะของพื้นที่ก็ควรต้องนำมาพิจารณาด้วย เช่น ลักษณะภูมิประเทศ ความลาดชัน หรือที่อยู่ของสัตว์ใกล้สูญพันธ์ ด้วยเหตุนี้ทางทีมงานของสำนักงานนโยบายพลังงานจึงนำเทคโนโลยี GIS มาสร้างแพลตฟอร์มที่มีชื่อว่า ‘Solar Site Potential in Kentucky’ เพื่อชี้แนะผู้พัฒนาโครงการถึงสถานที่ที่เหมาะสม

 

โซลูชันอัจฉริยะสำหรับการเลือกทำเลที่ตั้ง

ในช่วงเริ่มต้นทีมงานพยายามหาแนวทางปฏิบัติจากรัฐอื่น ๆ มาปรับใช้ซึ่งหาไม่ได้มากนัก แต่ด้วยความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญด้าน GIS ของรัฐผนวกกับ Esri จึงสามารถนำเทคโนโลยี GIS มาใช้เพื่อทำการวิเคราะห์หาทำเลที่เหมาะสมบนแปลงที่ดินว่างเปล่าเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งพลังงานแสงอาทิตย์ การวิเคราะห์นี้ประเมินพื้นที่โดยอิงตามเกณฑ์ความเป็นไปได้ทางเทคนิคในการก่อสร้าง แล้วจึงให้คะแนนแต่ละแปลงที่ดินต่อไป

ทีมงานของ Stump ได้ร่วมมือกับที่ปรึกษาเหมืองแร่และผู้พัฒนาโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อรวบรวมแต่ละชั้นข้อมูลและกำหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบทำเลต่าง ๆ โดยความร่วมมือนี้ได้รับการสนับสนุนจาก KY Geography Network (KYGeoNet) ซึ่งเป็นคลังข้อมูลเชิงพื้นที่ของรัฐเคนทักกี ซึ่ง Melissa Miracle ที่ปรึกษาไอทีและผู้จัดการโครงการของหน่วยงานด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมของรัฐเคนทักกี และเป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่อง KyGeoNet ได้ทำการศึกษารวบรวมข้อมูลสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ในท้องที่ร่วมกับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าของรัฐ ให้ความเห็นในการรวบรวมข้อมูลว่า “มันยากมากเลย เพราะเราไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลดิบได้เอง เราจึงร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ที่ดูแลเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเพื่อสร้างชั้นข้อมูลต่าง ๆ ที่ต้องการ การให้เจ้าหน้าที่เข้ามามีส่วนร่วมในโครงการนับว่าจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะผู้พัฒนาโครงการจะได้รู้ว่าที่ไหนสร้างได้และที่ไหนไม่ควรสร้าง” นอกจากงานดังกล่าว Miracle ยังได้ร่วมมือกับฝ่ายทรัพยากรธรรมชาติเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของเหมืองแร่ภายในรัฐเคนทักกีอีกด้วย Stump กล่าวเสริม “พวกเราเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เยอะมาก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องลักษณะของพื้นที่ การเข้ารหัสข้อมูล ไปจนกระทั่งศัพท์เฉพาะเรื่องการฟื้นฟูสภาพเหมืองแร่”

การร่วมมือกันครั้งนี้ช่วยให้ทีมงานสามารถคลี่คลายข้อสงสัยต่าง ๆ ของผู้สร้างโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ไม่ว่าจะเรื่องความลาดชันที่เหมาะสม ประเภทของที่ดิน (ที่ดินรกร้าง ป่าเบญจพรรณ หรือพื้นที่เพาะปลูก) การเข้าถึงสายส่งไฟฟ้า ความหนาแน่นของประชากร ระยะห่างจากที่อยู่ของสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ ไปจนกระทั่งสถานะของที่ดิน (ที่ดินของรัฐหรือพื้นที่คุ้มครอง)

 

การสื่อสารกับชุมชน

อีกหนึ่งประโยชน์ที่ได้จากแพลตฟอร์ม Solar Site Potential in Kentucky คือ ‘ความโปร่งใส’ ที่มอบให้กับชุมชนซึ่งอาจได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ “ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการวางแผนการใช้ที่ดิน แพลตฟอร์มนี้จึงช่วยให้พวกเขาเข้าใจเหตุผลที่ผู้พัฒนาโครงการสนใจที่ดินของพวกเขา เช่น อาจจะเพราะมีความลาดชันที่เหมาะสม สามารถเข้าถึงสายส่งไฟฟ้า หรือลักษณะอื่น ๆ แต่ท้ายที่สุดการตัดสินใจว่าจะทำอะไรกับที่ดินนั้นยังเป็นของคนในชุมชนอยู่ดี” Stump กล่าว

 

 

นอกจากนั้น แพลตฟอร์มยังช่วยให้คนในชุมชนรู้ว่าที่ดินจุดไหนที่กำลังพิจารณาสร้างโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ ข้อมูลนี้มีผลกับคนในชุมชนและการตัดสินใจวางแผนของชุมชนอย่างมาก เพราะเขาอาจต้องการปกป้องที่ดินเพื่อการใช้งานประเภทอื่น หรือรักษาทัศนียภาพไว้เช่นเดิม ซึ่งภายในแพลตฟอร์มยังมีชั้นข้อมูลที่แสดงให้ชุมชนเห็นการแบ่งประเภทการใช้ที่ดิน ซึ่งช่วยให้ผู้พัฒนาสามารถชี้แจงกับชุมชนเกี่ยวกับแผนโครงการได้ง่ายยิ่งขึ้น แพลตฟอร์มนี้ยังวางแผนเพิ่มภาพ 3 มิติเพื่อแสดงให้เห็นพื้นที่ที่มีศักยภาพสำหรับพลังงานแสงอาทิตย์ทั่วทั้งรัฐ ซึ่งจะช่วยให้ผู้พัฒนาโครงการเห็นมุมมองใหม่ทั้งหมด โดยสามารถ ‘บิน’ ดูความลาดชัน เนินเขา หรือที่ราบ

 

ความสำเร็จสู่โอกาสใหม่

ความสำเร็จในการวิเคราะห์ทำเลศักยภาพสำหรับพลังงานแสงอาทิตย์ของรัฐเคนทักกีได้สร้างโอกาสในการทำงานร่วมกับรัฐอื่น ๆ โดย Stump ให้ความเห็นว่า “เพราะความสำเร็จจากผลงานที่กลุ่ม GIS ของเราทำ ทำให้เราเป็นที่รู้จักทั่วประเทศในฐานะหน่วยงานที่ควรติดต่อหากต้องการเริ่มใช้งานระบบ GIS ทั้งเรายังได้ตอบคำถามที่มาจากหลากหลายรัฐที่เกี่ยวกับด้านพลังงาน ซึ่งล้วนเป็นคำถามเชิงภูมิสารสนเทศทั้งสิ้น และนั่นทำให้หน่วยงานพลังงานที่อื่น ๆ ต่างเริ่มเห็นความสำคัญของภูมิสารสนเทศ ว่าพวกเขาควรต้องรู้ว่าโครงการกำลังจะเกิดขึ้นที่ไหน ที่ไหนควรสร้าง ที่ไหนสามารถสร้าง ก่อนที่จะทำการพูดคุยกับคนในชุมชนและหารือเรื่องนโยบายต่อไป” Stump กล่าวทิ้งท้าย

ผู้เชี่ยวชาญด้าน GIS ของรัฐเคนทักกียังมองเห็นโอกาสที่จะใช้เทคโนโลยีนี้ปรับปรุงเครื่องมือการเลือกทำเลที่ตั้งภายในแพลตฟอร์ม โดยผนวกข้อมูลด้านความยุติธรรมด้านสิ่งแวดล้อมเข้าไว้ด้วย

 

 


ค้นหาศักยภาพของเทคโนโลยี GIS กับการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอื่นๆ เพิ่มเติม

 

อ่านเพิ่มเติม

Tags: