How High-Tech Maps Are Unlocking Smarter Solutions

 

When it comes to maps—a technology that is 4,000 years old—two completely contradictory things are true: Nothing has changed. And everything has changed. What hasn’t changed is maps are a language. They can present volumes of data to instantly tell a story, when that very same data would be incomprehensible if you looked at it on spreadsheets. What has changed is the kinds of stories maps can tell, the data they can present, the questions they can ask and then answer. What has changed is their capacity — literally. A book and a laptop may weigh the same, but a modern laptop can contain the information in about 300,000 books. That’s exactly what has happened to digital maps.

The modern map looks and works like maps always have. You can see geography — highways, forests, coastlines. You can see layers of data — where do people with college degrees live, which zip codes are environmentally-conscious consumers concentrated in, where do farmers grow which crops. But a modern map is also a dynamic window that allows zooming in and out, adding or removing layers of data to make a richer picture or focus on specific details. Maps communicate complexity, reveal patterns, and help people understand. Most important, cutting-edge maps contain real-time data, updated constantly.

For the first time in 4,000 years, maps are not just a graphic presentation of data but also an analytical and visualization tool for problem-solving. Consider:

In transportation and logistics, a multinational leader in package delivery and supply chain management can update the best nationwide delivery routes across the US, every 10 minutes — a process which saves the company $1 million a day in fuel and labor, while making customers happier, and also reducing traffic and air pollution. Because of a map.

In market analysis and site selection, one of the fastest-growing quick service restaurants in the US can look at months of sales and traffic data to figure out which restaurants would grow and by how much from adding a second drive-thru lane. Because of a map.

In public safety and security, the whole world could look at COVID-19 infection data, hour by hour, and find crucial patterns — at the country level, the state level, the city level, the hospital level. The kind of patterns that would end up saving lives. Because of a vivid, real-time map.

A map isn’t limited to physical geography anymore. It’s about societal geography. It’s about economic geography.

The capabilities of today’s digital maps can be traced to the powerful map-making and data management tools known as geographic information systems (GIS). Initially envisioned by British geographer Roger Tomlinson, GIS makes complex information easier to understand and analyze, by organizing it geographically and in multiple layers. Modern GIS software can do this with vast quantities and types of data.

At Esri, this is our work, helping businesses and governments around the world tap into the ability of maps to better explain the world. As many of those organizations already know, GIS maps foster a ground truth, a type of visualization that is accessible to almost everyone. Maps are the language of geography. Geography is the science of our world, integrating everything we know. Mapping has been waiting for this moment – waiting to take advantage of computers and the cloud and the way information gets stored in instantly accessible databases. One dataset can contribute to dozens of maps. One map can tap dozens of data sources. You can always update a map with new data. You can compare and see June versus May, you can do the same with this June versus last June, in seconds. Maps built on GIS can take in data from any source. That ability has only accelerated in recent years. GIS maps can now present any kind of data – sales data, customer data, census data, real-time GPS data, real-time weather data, satellite imagery, even imagery and location data from drones.

We can put our problems on maps. And then we can use maps to solve them. Sometimes the problem is extremely complicated, but also routine. When Brisbane, Australia needed to extend its subway system for the 2032 Summer Olympic Games, it used a shared, interactive, 3D mapping system to keep the project on schedule and spark designers’ imaginations.

Sometimes the problem requires an urgency we can bring to bear in all new ways. Real-time mapping of natural disasters and climate change-related events allows emergency responders to issue precise warnings and move rescue crews quickly to the places that need help. Sometimes the problem is something we’ve been wrestling with for decades. In urban planning, modern smart mapping lets everyone start with a single template and create proposed futures using tools that show actual designs of buildings, parks, roads, and protected areas. The shared space of the map opens a different conversation, allowing for understanding and compromise.

This era of mapping is a whole new world: a world of spatial problem-solving. Maps allow everyone to participate in a way that was not possible before — whether the subject is supply chain optimization or asset and network management or environmental conservation and monitoring. Because all the data lives in a database, because the software is ever-ready to make a map, a businessperson or a policymaker, a government analyst or a data scientist, can have a sudden question, or a sudden brainstorm — and map it out in minutes. In the digital age, maps are arguably the most powerful visual media, with interactive web maps emerging as the most effective way to understand complexity. Maps create understanding, and understanding precedes action.

Today, in both business and government, if we can imagine it, we can map it. And in mapping it, we can re-imagine it. Maps are not just about the science of location but also the science of possibility. Better than thousands of words is a single map that can enable us to protect the environment, achieve sustainability, and bring peace. Maps have always been a window into our current reality.

Modern mapping is a window into the future — more than that, it’s a way to imagine that future, and then design and build it, together.

 

Source: https://www.forbes.com/sites/esri/2024/06/12/people-can-do-way-more-than-not-get-lost-how-high-tech-maps-are-unlocking-smarter-solutions/

 


Unleashing GIS Technology’s potential in every industries

 

Read more



How High-Tech Maps Are Unlocking Smarter Solutions

 

When it comes to maps—a technology that is 4,000 years old—two completely contradictory things are true: Nothing has changed. And everything has changed. What hasn’t changed is maps are a language. They can present volumes of data to instantly tell a story, when that very same data would be incomprehensible if you looked at it on spreadsheets. What has changed is the kinds of stories maps can tell, the data they can present, the questions they can ask and then answer. What has changed is their capacity — literally. A book and a laptop may weigh the same, but a modern laptop can contain the information in about 300,000 books. That’s exactly what has happened to digital maps.

The modern map looks and works like maps always have. You can see geography — highways, forests, coastlines. You can see layers of data — where do people with college degrees live, which zip codes are environmentally-conscious consumers concentrated in, where do farmers grow which crops. But a modern map is also a dynamic window that allows zooming in and out, adding or removing layers of data to make a richer picture or focus on specific details. Maps communicate complexity, reveal patterns, and help people understand. Most important, cutting-edge maps contain real-time data, updated constantly.

For the first time in 4,000 years, maps are not just a graphic presentation of data but also an analytical and visualization tool for problem-solving. Consider:

In transportation and logistics, a multinational leader in package delivery and supply chain management can update the best nationwide delivery routes across the US, every 10 minutes — a process which saves the company $1 million a day in fuel and labor, while making customers happier, and also reducing traffic and air pollution. Because of a map.

In market analysis and site selection, one of the fastest-growing quick service restaurants in the US can look at months of sales and traffic data to figure out which restaurants would grow and by how much from adding a second drive-thru lane. Because of a map.

In public safety and security, the whole world could look at COVID-19 infection data, hour by hour, and find crucial patterns — at the country level, the state level, the city level, the hospital level. The kind of patterns that would end up saving lives. Because of a vivid, real-time map.

A map isn’t limited to physical geography anymore. It’s about societal geography. It’s about economic geography.

The capabilities of today’s digital maps can be traced to the powerful map-making and data management tools known as geographic information systems (GIS). Initially envisioned by British geographer Roger Tomlinson, GIS makes complex information easier to understand and analyze, by organizing it geographically and in multiple layers. Modern GIS software can do this with vast quantities and types of data.

At Esri, this is our work, helping businesses and governments around the world tap into the ability of maps to better explain the world. As many of those organizations already know, GIS maps foster a ground truth, a type of visualization that is accessible to almost everyone. Maps are the language of geography. Geography is the science of our world, integrating everything we know. Mapping has been waiting for this moment – waiting to take advantage of computers and the cloud and the way information gets stored in instantly accessible databases. One dataset can contribute to dozens of maps. One map can tap dozens of data sources. You can always update a map with new data. You can compare and see June versus May, you can do the same with this June versus last June, in seconds. Maps built on GIS can take in data from any source. That ability has only accelerated in recent years. GIS maps can now present any kind of data – sales data, customer data, census data, real-time GPS data, real-time weather data, satellite imagery, even imagery and location data from drones.

We can put our problems on maps. And then we can use maps to solve them. Sometimes the problem is extremely complicated, but also routine. When Brisbane, Australia needed to extend its subway system for the 2032 Summer Olympic Games, it used a shared, interactive, 3D mapping system to keep the project on schedule and spark designers’ imaginations.

Sometimes the problem requires an urgency we can bring to bear in all new ways. Real-time mapping of natural disasters and climate change-related events allows emergency responders to issue precise warnings and move rescue crews quickly to the places that need help. Sometimes the problem is something we’ve been wrestling with for decades. In urban planning, modern smart mapping lets everyone start with a single template and create proposed futures using tools that show actual designs of buildings, parks, roads, and protected areas. The shared space of the map opens a different conversation, allowing for understanding and compromise.

This era of mapping is a whole new world: a world of spatial problem-solving. Maps allow everyone to participate in a way that was not possible before — whether the subject is supply chain optimization or asset and network management or environmental conservation and monitoring. Because all the data lives in a database, because the software is ever-ready to make a map, a businessperson or a policymaker, a government analyst or a data scientist, can have a sudden question, or a sudden brainstorm — and map it out in minutes. In the digital age, maps are arguably the most powerful visual media, with interactive web maps emerging as the most effective way to understand complexity. Maps create understanding, and understanding precedes action.

Today, in both business and government, if we can imagine it, we can map it. And in mapping it, we can re-imagine it. Maps are not just about the science of location but also the science of possibility. Better than thousands of words is a single map that can enable us to protect the environment, achieve sustainability, and bring peace. Maps have always been a window into our current reality.

Modern mapping is a window into the future — more than that, it’s a way to imagine that future, and then design and build it, together.

 

Source: https://www.forbes.com/sites/esri/2024/06/12/people-can-do-way-more-than-not-get-lost-how-high-tech-maps-are-unlocking-smarter-solutions/

 


Unleashing GIS Technology’s potential in every industries

 

Read more



แผนที่ยุคใหม่…ไม่ใช่แค่เข็มทิศแต่คือโซลูชันอัจฉริยะแห่งอนาคต

 

เมื่อพูดถึงแผนที่ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่มีมากว่า 4,000 ปี มีความจริงอยู่ 2 สิ่งที่ต่างกันอย่างสิ้นเชิง นั่นคือ ไม่มีอะไรเปลี่ยนไป และทุกอย่างเปลี่ยนไป สิ่งที่ไม่เปลี่ยนเลยนั่นคือ แผนที่ยังคงเป็นภาษา มันสามารถเปลี่ยนข้อมูลจำนวนมากให้กลายเป็นเรื่องเล่าในทันที ซึ่งข้อมูลเดียวกันนั้นอาจเข้าใจไม่ได้เลยเมื่ออยู่ในรูปแบบสเปรดชีต ส่วนทุกอย่างที่เปลี่ยนไปนั่นก็คือ ศักยภาพของแผนที่ ทั้งในแง่ของข้อมูลที่นำเสนอ ไปจนกระทั่งการตั้งคำถามและการตอบคำถาม เปรียบดั่งหนังสือและแล็ปท็อปที่มีน้ำหนักเท่าเดิม แต่แล็ปท็อปยุคใหม่สามารถเก็บข้อมูลได้มากเท่าหนังสือ 300,000 เล่ม นี่คือศักยภาพของแผนที่ที่เปลี่ยนไปในยุคดิจิทัล

แม้ว่าแผนที่ดิจิทัลจะมีรูปลักษณ์และการทำงานไม่ต่างจากแผนที่แบบเดิม คือสามารถแสดงภาพภูมิศาสตร์ เช่น ทางหลวง ป่าไม้ และแนวชายฝั่ง แต่สิ่งที่เพิ่มขึ้นคือคุณสามารถเห็นข้อมูลแยกเป็นชั้น ๆ เช่น ข้อมูลของพื้นที่ที่คนจบปริญญาตรีอาศัยอยู่ รหัสไปรษณีย์ที่มีผู้บริโภคที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อมอยู่หนาแน่น และชนิดของพืชและพื้นที่ที่เกษตรกรทำการเพาะปลูก เป็นต้น ทั้งแผนที่ดิจิทัลยังเปรียบเสมือนหน้าต่างที่ให้คุณสามารถซูมเข้าและซูมออก เพิ่มหรือลบชั้นของข้อมูล เพื่อสร้างภาพที่มีความละเอียดมากขึ้น หรือเจาะเฉพาะข้อมูลบางประเภทได้ และยังสามารถสื่อสารข้อมูลที่ซับซ้อน เผยให้เห็นแพทเทิร์นบางอย่าง ช่วยทำให้ผู้คนเข้าใจข้อมูลได้ง่ายขึ้น

และที่สำคัญที่สุด คือแผนที่ยุคใหม่มีข้อมูลแบบเรียลไทม์ที่มีการอัปเดตอยู่เสมอ แผนที่ไม่ใช่แค่นำเสนอข้อมูลในรูปแบบภาพกราฟิกเท่านั้น แต่เป็นเครื่องมือที่ใช้วิเคราะห์และสร้างภาพเพื่อแก้ปัญหาในเรื่องต่าง ๆ ดังตัวอย่างข้างล่างนี้

การขนส่งและโลจิสติกส์ – บริษัทชั้นนำระดับโลกด้านการจัดส่งพัสดุและการจัดการห่วงโซ่อุปทานสามารถอัปเดตเส้นทางการขนส่งที่มีประสิทธิภาพที่สุดทั่วสหรัฐฯ ในทุก ๆ 10 นาที ทำให้บริษัทประหยัดค่าน้ำมันและแรงงานได้มากถึง 1 ล้านเหรียญสหรัฐต่อวัน ทั้งยังทำให้ลูกค้ามีความสุขมากขึ้น และลดปัญหาการจราจรและมลพิษได้

การวิเคราะห์การตลาดและการเลือกทำเลที่ตั้ง – หนึ่งในร้านอาหารบริการเร่งด่วนที่เติบโตอย่างรวดเร็วรายหนึ่งในสหรัฐฯ สามารถมองเห็นข้อมูลยอดขายและปริมาณการจราจรรายเดือนเพื่อทำการวิเคราะห์ว่าร้านอาหารไหนมีโอกาสเติบโตมากขึ้นหากเพิ่มช่องไดร์ฟทรูเพิ่มอีกหนึ่งช่อง

ด้านความปลอดภัยสาธารณะ – ทั่วโลกสามารถเห็นข้อมูลการติดเชื้อโควิด-19 แบบชั่วโมงต่อชั่วโมง พร้อมค้นหาแพทเทิร์นการแพร่เชื้อที่สำคัญในระดับประเทศ ระดับรัฐ ระดับเมือง หรือแม้กระทั่งระดับโรงพยาบาล การเห็นภาพชัดเจนในแบบเรียลไทม์นี้เองที่ทำให้สามารถรักษาชีวิตคนไว้ได้จำนวนมาก

แผนที่ไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่ศักยภาพทางภูมิศาสตร์กายภาพเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมถึงภูมิศาสตร์สังคม และภูมิศาสตร์เศรษฐกิจอีกด้วย

ความสามารถของแผนที่ดิจิทัลยุคใหม่เกิดขึ้นจากเครื่องมือในการสร้างแผนที่และจัดการข้อมูลอันทรงพลังที่เรียกว่า ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic information systems : GIS) ซึ่งเป็นระบบที่ถูกคิดค้นโดยนักภูมิศาสตร์ชาวอังกฤษที่มีชื่อว่า Roger Tomlinson โดย GIS จะทำหน้าที่ย่อยข้อมูลที่มีความซับซ้อนให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจและวิเคราะห์ได้ง่าย โดยทำการจัดระเบียบข้อมูลตามพื้นที่พร้อมทำการจัดแยกชั้นข้อมูล ซึ่งซอฟต์แวร์ GIS ยุคใหม่สามารถทำงานกับข้อมูลจำนวนมหาศาลและหลากหลายประเภทได้อย่างเหลือเชื่อ

ที่ Esri งานของเรามุ่งช่วยภาคธุรกิจและภาครัฐทั่วโลกในการดึงศักยภาพของแผนที่มาใช้เพื่ออธิบายโลกใบนี้ได้ดียิ่งขึ้น และองค์กรต่าง ๆ ก็เห็นความสำคัญของการใช้แผนที่ GIS ด้วยความสามารถในการแสดงข้อมูลให้เห็นเป็นภาพที่เข้าใจง่ายๆ ทำให้ทีมงานเกิดความเข้าใจในทิศทางเดียวกันได้อย่างง่ายดาย การที่แผนที่เป็นภาษาทางภูมิศาสตร์และเป็นศาสตร์ที่รวบรวมทุกสิ่งที่เรารู้จักเกี่ยวกับโลก เมื่อเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ก้าวหน้า ทั้งระบบคลาวด์และการเก็บข้อมูลลงในฐานข้อมูลมีความทันสมัยมากขึ้น จึงทำให้การทำแผนที่เติบโตไปอีกขั้น ปัจจุบันนี้ข้อมูลชุดเดียวสามารถสร้างแผนที่ได้หลายแบบ หรือแม้กระทั่งแผนที่อันเดียวก็สามารถดึงข้อมูลได้จากหลายแหล่งข้อมูลอีกด้วย นอกจากนั้น การอัปเดตข้อมูลบนแผนที่ก็ไม่ใช่เรื่องยาก และคุณยังสามารถเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างเดือนมิถุนายนและพฤษภาคม หรือเทียบระหว่างมิถุนายนปีที่แล้วกับมิถุนายนปีนี้ ซึ่งทำได้ภายในพริบตา อีกทั้งแผนที่ที่สร้างด้วยเทคโนโลยี GIS ยังถูกพัฒนาอย่างรวดเร็วให้มีความสามารถในการดึงข้อมูลจากแหล่งข้อมูลใดก็ได้

ปัจจุบันแผนที่ GIS สามารถนำเสนอข้อมูลได้หลากหลายประเภท ตั้งแต่ข้อมูลยอดขาย ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลสำมโนประชากร ข้อมูล GPS แบบเรียลไทม์ ข้อมูลสภาพอากาศแบบ Real-Time ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ไปจนกระทั่งข้อมูลภาพถ่ายและตำแหน่งจากโดรน นี่คือความก้าวหน้าครั้งยิ่งใหญ่ที่สุด เราสามารถใส่ปัญหาลงบนแผนที่แล้วให้แผนที่แก้ปัญหาให้เรา แม้บางครั้งปัญหานั้นมีความซับซ้อนสูงมาก ตัวอย่างเช่น เมืองบริสเบน ประเทศออสเตรเลีย ต้องการขยายระบบรถไฟใต้ดินเพื่อรองรับการแข่งขันโอลิกปิกในปี 2032 จึงใช้ระบบแผนที่ 3 มิติที่สามารถโต้ตอบและแชร์ข้อมูลร่วมกัน เพื่อให้โครงการเสร็จตามกำหนดการ ทั้งยังคอยจุดประกายไอเดียใหม่ ๆ ให้กับนักออกแบบอยู่เสมอ หรือบางปัญหาเป็นเรื่องเร่งด่วนที่เราต้องหาทางแก้ไขใหม่ ๆ เช่น แผนที่ที่แสดงภัยพิบัติทางธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศแบบ Real-Time ช่วยให้เจ้าหน้าที่กู้ภัยสามารถแจ้งเตือนปัญหา และแจ้งตำแหน่งที่ต้องการให้เจ้าหน้าที่กู้ภัยเข้าช่วยเหลือได้ตรงจุด บางครั้งปัญหาเหล่านั้นอาจเป็นเรื่องที่ท้าทายและซับซ้อน เช่น ในการวางผังเมือง ทีมงานทุกคนสามารถทำงานผ่าน Template เดียวกันบนแผนที่อัจฉริยะ พร้อมทำการออกแบบภาพในอนาคตโดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ เพื่อสร้างอาคาร สวนสาธารณะ ถนน และพื้นที่คุ้มครอง การมีแผนที่ที่เปิดพื้นที่ให้แชร์ข้อมูลซึ่งกันและกันย่อมเปิดโอกาสให้เกิดการพูดคุย และนำไปสู่ความเข้าใจและหาทางออกร่วมกันได้ดียิ่งขึ้น

แผนที่ในยุคสมัยนี้เปรียบเสมือนโลกยุคใหม่ที่มาพร้อมความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่ ทั้งแผนที่ยังช่วยให้ทุกคนมีส่วนร่วมในรูปแบบที่ไม่เคยมีมาก่อน ไม่ว่าปัญหาคือเรื่องเพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทาน เรื่องการบริหารจัดการสินทรัพย์และเครือข่าย หรืออนุรักษ์และติดตามสิ่งแวดล้อม ด้วยความสามารถในการเก็บข้อมูลทั้งหมดลงในฐานข้อมูล และด้วยความพร้อมของซอฟต์แวร์ในการสร้างแผนที่ตลอดเวลา จึงทำให้ผู้ใช้งานไม่ว่าจะเป็น ภาครัฐ ภาคธุรกิจ นักธุรกิจ หรือนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล สามารถตั้งคำถามได้ทันที หรือหาแนวคิดใหม่ ๆ แล้วถ่ายทอดออกมาเป็นแผนที่ได้ในเวลาไม่ถึงนาที

ในยุคดิจิทัลนี้ อาจกล่าวได้ว่าแผนที่คือเครื่องมือสื่อสารด้านภาพที่มีพลังมากที่สุด โดยเฉพาะแผนที่แบบ Interactive ซึ่งช่วยทำให้ผู้ใช้งานเข้าใจเรื่องที่มีความซับซ้อนได้ง่ายขึ้น และด้วยความเข้าใจที่มากขึ้นนี้เองที่นำไปสู่การลงมือแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นภาคธุรกิจและภาครัฐสามารถสร้างแผนที่ได้ตามที่จินตนาการ และเมื่อสร้างแผนที่แล้วก็สามารถต่อยอดพัฒนาได้อีก แผนที่จึงไม่ใช่เป็นศาสตร์ด้านพื้นที่เท่านั้นแต่มันคือศาสตร์แห่งความเป็นไปได้ อาจกล่าวได้ว่าแผนที่มีค่ามากกว่าหลายพันคำ เพราะภาพเหล่านั้นทำให้เราสามารถทำเรื่องที่ยิ่งใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นปกป้องสิ่งแวดล้อม มุ่งสู่ความยั่งยืน ไปจนกระทั่งสร้างสันติสุข

ท้ายที่สุดนี้ แผนที่ดิจิทัลถือเป็นหน้าต่างสู่อนาคต มันคือวิธีในการจินตนาการถึงอนาคต และเป็นเครื่องมือให้เราทุกคนได้มีส่วนร่วมในการออกแบบและสร้างให้เกิดขึ้นจริง

 

ที่มา:  https://www.forbes.com/sites/esri/2024/06/12/people-can-do-way-more-than-not-get-lost-how-high-tech-maps-are-unlocking-smarter-solutions/

 

 


ค้นหาศักยภาพของเทคโนโลยี GIS กับการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอื่นๆ เพิ่มเติม

 

อ่านเพิ่มเติม



แผนที่ยุคใหม่…ไม่ใช่แค่เข็มทิศแต่คือโซลูชันอัจฉริยะแห่งอนาคต

 

เมื่อพูดถึงแผนที่ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่มีมากว่า 4,000 ปี มีความจริงอยู่ 2 สิ่งที่ต่างกันอย่างสิ้นเชิง นั่นคือ ไม่มีอะไรเปลี่ยนไป และทุกอย่างเปลี่ยนไป สิ่งที่ไม่เปลี่ยนเลยนั่นคือ แผนที่ยังคงเป็นภาษา มันสามารถเปลี่ยนข้อมูลจำนวนมากให้กลายเป็นเรื่องเล่าในทันที ซึ่งข้อมูลเดียวกันนั้นอาจเข้าใจไม่ได้เลยเมื่ออยู่ในรูปแบบสเปรดชีต ส่วนทุกอย่างที่เปลี่ยนไปนั่นก็คือ ศักยภาพของแผนที่ ทั้งในแง่ของข้อมูลที่นำเสนอ ไปจนกระทั่งการตั้งคำถามและการตอบคำถาม เปรียบดั่งหนังสือและแล็ปท็อปที่มีน้ำหนักเท่าเดิม แต่แล็ปท็อปยุคใหม่สามารถเก็บข้อมูลได้มากเท่าหนังสือ 300,000 เล่ม นี่คือศักยภาพของแผนที่ที่เปลี่ยนไปในยุคดิจิทัล

แม้ว่าแผนที่ดิจิทัลจะมีรูปลักษณ์และการทำงานไม่ต่างจากแผนที่แบบเดิม คือสามารถแสดงภาพภูมิศาสตร์ เช่น ทางหลวง ป่าไม้ และแนวชายฝั่ง แต่สิ่งที่เพิ่มขึ้นคือคุณสามารถเห็นข้อมูลแยกเป็นชั้น ๆ เช่น ข้อมูลของพื้นที่ที่คนจบปริญญาตรีอาศัยอยู่ รหัสไปรษณีย์ที่มีผู้บริโภคที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อมอยู่หนาแน่น และชนิดของพืชและพื้นที่ที่เกษตรกรทำการเพาะปลูก เป็นต้น ทั้งแผนที่ดิจิทัลยังเปรียบเสมือนหน้าต่างที่ให้คุณสามารถซูมเข้าและซูมออก เพิ่มหรือลบชั้นของข้อมูล เพื่อสร้างภาพที่มีความละเอียดมากขึ้น หรือเจาะเฉพาะข้อมูลบางประเภทได้ และยังสามารถสื่อสารข้อมูลที่ซับซ้อน เผยให้เห็นแพทเทิร์นบางอย่าง ช่วยทำให้ผู้คนเข้าใจข้อมูลได้ง่ายขึ้น

และที่สำคัญที่สุด คือแผนที่ยุคใหม่มีข้อมูลแบบเรียลไทม์ที่มีการอัปเดตอยู่เสมอ แผนที่ไม่ใช่แค่นำเสนอข้อมูลในรูปแบบภาพกราฟิกเท่านั้น แต่เป็นเครื่องมือที่ใช้วิเคราะห์และสร้างภาพเพื่อแก้ปัญหาในเรื่องต่าง ๆ ดังตัวอย่างข้างล่างนี้

การขนส่งและโลจิสติกส์ – บริษัทชั้นนำระดับโลกด้านการจัดส่งพัสดุและการจัดการห่วงโซ่อุปทานสามารถอัปเดตเส้นทางการขนส่งที่มีประสิทธิภาพที่สุดทั่วสหรัฐฯ ในทุก ๆ 10 นาที ทำให้บริษัทประหยัดค่าน้ำมันและแรงงานได้มากถึง 1 ล้านเหรียญสหรัฐต่อวัน ทั้งยังทำให้ลูกค้ามีความสุขมากขึ้น และลดปัญหาการจราจรและมลพิษได้

การวิเคราะห์การตลาดและการเลือกทำเลที่ตั้ง – หนึ่งในร้านอาหารบริการเร่งด่วนที่เติบโตอย่างรวดเร็วรายหนึ่งในสหรัฐฯ สามารถมองเห็นข้อมูลยอดขายและปริมาณการจราจรรายเดือนเพื่อทำการวิเคราะห์ว่าร้านอาหารไหนมีโอกาสเติบโตมากขึ้นหากเพิ่มช่องไดร์ฟทรูเพิ่มอีกหนึ่งช่อง

ด้านความปลอดภัยสาธารณะ – ทั่วโลกสามารถเห็นข้อมูลการติดเชื้อโควิด-19 แบบชั่วโมงต่อชั่วโมง พร้อมค้นหาแพทเทิร์นการแพร่เชื้อที่สำคัญในระดับประเทศ ระดับรัฐ ระดับเมือง หรือแม้กระทั่งระดับโรงพยาบาล การเห็นภาพชัดเจนในแบบเรียลไทม์นี้เองที่ทำให้สามารถรักษาชีวิตคนไว้ได้จำนวนมาก

แผนที่ไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่ศักยภาพทางภูมิศาสตร์กายภาพเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมถึงภูมิศาสตร์สังคม และภูมิศาสตร์เศรษฐกิจอีกด้วย

ความสามารถของแผนที่ดิจิทัลยุคใหม่เกิดขึ้นจากเครื่องมือในการสร้างแผนที่และจัดการข้อมูลอันทรงพลังที่เรียกว่า ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic information systems : GIS) ซึ่งเป็นระบบที่ถูกคิดค้นโดยนักภูมิศาสตร์ชาวอังกฤษที่มีชื่อว่า Roger Tomlinson โดย GIS จะทำหน้าที่ย่อยข้อมูลที่มีความซับซ้อนให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจและวิเคราะห์ได้ง่าย โดยทำการจัดระเบียบข้อมูลตามพื้นที่พร้อมทำการจัดแยกชั้นข้อมูล ซึ่งซอฟต์แวร์ GIS ยุคใหม่สามารถทำงานกับข้อมูลจำนวนมหาศาลและหลากหลายประเภทได้อย่างเหลือเชื่อ

ที่ Esri งานของเรามุ่งช่วยภาคธุรกิจและภาครัฐทั่วโลกในการดึงศักยภาพของแผนที่มาใช้เพื่ออธิบายโลกใบนี้ได้ดียิ่งขึ้น และองค์กรต่าง ๆ ก็เห็นความสำคัญของการใช้แผนที่ GIS ด้วยความสามารถในการแสดงข้อมูลให้เห็นเป็นภาพที่เข้าใจง่ายๆ ทำให้ทีมงานเกิดความเข้าใจในทิศทางเดียวกันได้อย่างง่ายดาย การที่แผนที่เป็นภาษาทางภูมิศาสตร์และเป็นศาสตร์ที่รวบรวมทุกสิ่งที่เรารู้จักเกี่ยวกับโลก เมื่อเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ก้าวหน้า ทั้งระบบคลาวด์และการเก็บข้อมูลลงในฐานข้อมูลมีความทันสมัยมากขึ้น จึงทำให้การทำแผนที่เติบโตไปอีกขั้น ปัจจุบันนี้ข้อมูลชุดเดียวสามารถสร้างแผนที่ได้หลายแบบ หรือแม้กระทั่งแผนที่อันเดียวก็สามารถดึงข้อมูลได้จากหลายแหล่งข้อมูลอีกด้วย นอกจากนั้น การอัปเดตข้อมูลบนแผนที่ก็ไม่ใช่เรื่องยาก และคุณยังสามารถเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างเดือนมิถุนายนและพฤษภาคม หรือเทียบระหว่างมิถุนายนปีที่แล้วกับมิถุนายนปีนี้ ซึ่งทำได้ภายในพริบตา อีกทั้งแผนที่ที่สร้างด้วยเทคโนโลยี GIS ยังถูกพัฒนาอย่างรวดเร็วให้มีความสามารถในการดึงข้อมูลจากแหล่งข้อมูลใดก็ได้

ปัจจุบันแผนที่ GIS สามารถนำเสนอข้อมูลได้หลากหลายประเภท ตั้งแต่ข้อมูลยอดขาย ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลสำมโนประชากร ข้อมูล GPS แบบเรียลไทม์ ข้อมูลสภาพอากาศแบบ Real-Time ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ไปจนกระทั่งข้อมูลภาพถ่ายและตำแหน่งจากโดรน นี่คือความก้าวหน้าครั้งยิ่งใหญ่ที่สุด เราสามารถใส่ปัญหาลงบนแผนที่แล้วให้แผนที่แก้ปัญหาให้เรา แม้บางครั้งปัญหานั้นมีความซับซ้อนสูงมาก ตัวอย่างเช่น เมืองบริสเบน ประเทศออสเตรเลีย ต้องการขยายระบบรถไฟใต้ดินเพื่อรองรับการแข่งขันโอลิกปิกในปี 2032 จึงใช้ระบบแผนที่ 3 มิติที่สามารถโต้ตอบและแชร์ข้อมูลร่วมกัน เพื่อให้โครงการเสร็จตามกำหนดการ ทั้งยังคอยจุดประกายไอเดียใหม่ ๆ ให้กับนักออกแบบอยู่เสมอ หรือบางปัญหาเป็นเรื่องเร่งด่วนที่เราต้องหาทางแก้ไขใหม่ ๆ เช่น แผนที่ที่แสดงภัยพิบัติทางธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศแบบ Real-Time ช่วยให้เจ้าหน้าที่กู้ภัยสามารถแจ้งเตือนปัญหา และแจ้งตำแหน่งที่ต้องการให้เจ้าหน้าที่กู้ภัยเข้าช่วยเหลือได้ตรงจุด บางครั้งปัญหาเหล่านั้นอาจเป็นเรื่องที่ท้าทายและซับซ้อน เช่น ในการวางผังเมือง ทีมงานทุกคนสามารถทำงานผ่าน Template เดียวกันบนแผนที่อัจฉริยะ พร้อมทำการออกแบบภาพในอนาคตโดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ เพื่อสร้างอาคาร สวนสาธารณะ ถนน และพื้นที่คุ้มครอง การมีแผนที่ที่เปิดพื้นที่ให้แชร์ข้อมูลซึ่งกันและกันย่อมเปิดโอกาสให้เกิดการพูดคุย และนำไปสู่ความเข้าใจและหาทางออกร่วมกันได้ดียิ่งขึ้น

แผนที่ในยุคสมัยนี้เปรียบเสมือนโลกยุคใหม่ที่มาพร้อมความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่ ทั้งแผนที่ยังช่วยให้ทุกคนมีส่วนร่วมในรูปแบบที่ไม่เคยมีมาก่อน ไม่ว่าปัญหาคือเรื่องเพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทาน เรื่องการบริหารจัดการสินทรัพย์และเครือข่าย หรืออนุรักษ์และติดตามสิ่งแวดล้อม ด้วยความสามารถในการเก็บข้อมูลทั้งหมดลงในฐานข้อมูล และด้วยความพร้อมของซอฟต์แวร์ในการสร้างแผนที่ตลอดเวลา จึงทำให้ผู้ใช้งานไม่ว่าจะเป็น ภาครัฐ ภาคธุรกิจ นักธุรกิจ หรือนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล สามารถตั้งคำถามได้ทันที หรือหาแนวคิดใหม่ ๆ แล้วถ่ายทอดออกมาเป็นแผนที่ได้ในเวลาไม่ถึงนาที

ในยุคดิจิทัลนี้ อาจกล่าวได้ว่าแผนที่คือเครื่องมือสื่อสารด้านภาพที่มีพลังมากที่สุด โดยเฉพาะแผนที่แบบ Interactive ซึ่งช่วยทำให้ผู้ใช้งานเข้าใจเรื่องที่มีความซับซ้อนได้ง่ายขึ้น และด้วยความเข้าใจที่มากขึ้นนี้เองที่นำไปสู่การลงมือแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นภาคธุรกิจและภาครัฐสามารถสร้างแผนที่ได้ตามที่จินตนาการ และเมื่อสร้างแผนที่แล้วก็สามารถต่อยอดพัฒนาได้อีก แผนที่จึงไม่ใช่เป็นศาสตร์ด้านพื้นที่เท่านั้นแต่มันคือศาสตร์แห่งความเป็นไปได้ อาจกล่าวได้ว่าแผนที่มีค่ามากกว่าหลายพันคำ เพราะภาพเหล่านั้นทำให้เราสามารถทำเรื่องที่ยิ่งใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นปกป้องสิ่งแวดล้อม มุ่งสู่ความยั่งยืน ไปจนกระทั่งสร้างสันติสุข

ท้ายที่สุดนี้ แผนที่ดิจิทัลถือเป็นหน้าต่างสู่อนาคต มันคือวิธีในการจินตนาการถึงอนาคต และเป็นเครื่องมือให้เราทุกคนได้มีส่วนร่วมในการออกแบบและสร้างให้เกิดขึ้นจริง

 

ที่มา:  https://www.forbes.com/sites/esri/2024/06/12/people-can-do-way-more-than-not-get-lost-how-high-tech-maps-are-unlocking-smarter-solutions/

 

 


ค้นหาศักยภาพของเทคโนโลยี GIS กับการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอื่นๆ เพิ่มเติม

 

อ่านเพิ่มเติม